ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออลเทอร์นาทิฟร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 158:
 
กลางคริสต์ทศวรรษ 1990 วง[[ซันนีเดย์รีลเอสเตต]]ได้กำหนดนิยามเพลง[[อีโม]]ขึ้นมา อัลบัม ''[[พิงเคอร์ตัน]]'' (1996) ของ[[วีเซอร์]]ก็ถือว่าเป็นอัลบัมที่สร้างผลกระทบ ในปี 2000 เมื่อก้าวทศวรรษใหม่ อีโมเป็นแนวเพลงร็อกที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแนวเพลงหนึ่ง<ref name=Allmusicemo/> ผลงานยอดนิยมที่ประสบความสำเร็จได้ยอดขายได้แก่ ''[[Bleed American|บลีดอเมริกา]]'' ของ[[จิมมีอีตเวิลด์]] (2001) และ ''[[The Places You Have Come to Fear the Most|เดอะเพลซซิสยูแฮฟคัมทูเฟียร์เดอะโมสต์]]'' ของ[[แดชบอร์ดคอนเฟชชันนอล]] (2003)<ref name=DeRogatis2003>{{Cite journal|last=J. DeRogatis |title=True Confessional? |journal=[[Chicago Sun Times]] |date=October 3, 2003 |url=http://www.jimdero.com/News2003/Oct3LiveDashboard.htm |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWYWZCCf?url=http://www.jimdero.com/News2003/Oct3LiveDashboard.htm |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> อีโมแบบใหม่มีซาวด์แบบกระแสหลักมากขึ้นมากกว่าในคริสต์ทศวรรษ 1990 และดูดึงดูดใจต่อวัยรุ่นได้อย่างมาก มากกว่าช่วงก่อร่างสร้างตัวในช่วงก่อนหน้านี้<ref name=DeRogatis2003/> ขณะเดียวกัน การใช้คำว่า "อีโม" ขยับขยายไปมากกว่าคำว่าแนวเพลง ได้กลายมาเป็นแฟชั่น ทรงผม และดนตรีที่ปลดปล่อยอารมณ์<ref>{{Cite journal|last=H. A. S. Popkin |title=What exactly is 'emo,' anyway? |journal=MSNBC.com |date=March 26, 2006 |url=http://www.msnbc.msn.com/id/11720603/ |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWYk5jSh?url=http://today.msnbc.msn.com/id/11720603 |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> ความสำเร็จอย่างต่อเนื่องของอีโมในกระแสหลักกับวงที่เกิดขึ้นใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 2000 อาทิวงที่ทำผลงานหลักแผ่นเสียงทองคำขาวหลายชุดอย่าง [[ฟอลล์เอาต์บอย]]<ref name=chartblog>{{Cite journal|last=F. McAlpine |title=Paramore: Misery Business |journal=MSNBC.com |date=June 14, 2007 |url=http://www.bbc.co.uk/blogs/chartblog/2007/06/paramore_misery_business.shtml |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWYwhbF5?url=http://www.bbc.co.uk/blogs/chartblog/2007/06/paramore_misery_business.shtml |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> และ[[มายเคมิคอลโรแมนซ์]]<ref>{{Cite journal|last=J. Hoard |title=My Chemical Romance |journal=Rolling Stone |date= |url=https://www.rollingstone.com/music/artists/my-chemical-romance/biography |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWZL1bZ0?url=http://www.rollingstone.com/music/artists/my-chemical-romance/biography |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> รวมถึงวงในกระแสหลักอย่าง [[พาร์อะมอร์]]<ref name=chartblog/> และ[[Panic! at the Disco|แพนิก! แอตเดอะดิสโก]]<ref>{{Cite journal|last=F. McAlpine |title=Paramore "Misery Business" |journal=NME |date=December 18, 2006 |url=http://www.nme.com/news/nme/24758 |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWZYAwIz?url=http://www.nme.com/news/nme/24758 |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref>
 
===ศตวรรษที่ 21===
[[ไฟล์:Alex Kapranos.jpg|alt=Two-thirds body shot of singer with short brown hair, wearing a black shirt and jeans, performing on stage. A band is partially visible in the background.|right|thumb|upright=0.9|[[Alex Kapranos|อเล็กซ์ คาพราโนส]] แห่งวง[[ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์]]]]
ระหว่างปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 มีวงออลเทอร์นาทิฟร็อกเกิดขึ้นหลายวง เช่น [[เดอะสโตรกส์]], [[ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์]], [[อินเตอร์พอล]] และ[[เดอะแรปเจอร์]] ที่ได้รับแรงบันดาลใจที่สำคัญจากโพสต์พังก์และนิวเวฟ ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวของ[[โพสต์พังก์ริไววัล]]<ref>{{cite web | url={{Allmusic|class=style|id=new-wave-post-punk-revival-ma0000012020|pure_url=yes}} | title=New Wave/Post-Punk Revival | accessdate=August 6, 2009 | publisher=[[AllMusic]]}}</ref> หลังจากความสำเร็จของวงอย่าง เดอะสโตรกส์ และเดอะไวต์สไตรปส์ก่อนหน้านี้ในทศวรรษก่อน วงออลเทอร์นาทิฟร็อกหน้าใหม่ก็ไหลบ่ามา เช่นวงโพสต์พังก์ริไววัล และศิลปินแนวอื่นอย่าง [[เดอะคิลเลอส์]] และ[[เยเยเยส์]] ประสบความสำเร็จด้านยอดขายช่วงต้นและกลางคริสต์ทศวรรษ 2000 เชื่อว่าน่าจะเป็นผลจากความสำเร็จของวงเหล่านี้ ''[[เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี]]'' ประกาศไว้ในปี 2004 ว่า "หลังจากเกือบทศวรรษที่วง[[แร็ปร็อก]]และ[[นูเมทัล]]มีความโดดเด่น ในที่สุดออลต์-ร็อกก็กลับมาดีอีกครั้ง"<ref>{{cite news |author1=Hiatt, Brian |author2=Bonin, Lian |author3=Volby, Karen | date=July 9, 2004 | title=The Return of (Good) Alt-Rock | publisher=EW.com | url=http://www.ew.com/ew/article/0,,659881,00.html | accessdate=August 28, 2007}}</ref> [[เทอร์ตีเซคันส์ทูมาส์]]ได้รับความนิยมอย่างชัดเจนมากขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ทศวรรษ 2000<ref>{{cite web|last1=Leahey|first1=Andrew|title=Thirty Seconds to Mars|url=http://www.allmusic.com/artist/thirty-seconds-to-mars-mn0000485365/biography|website=AllMusic|publisher=All Media Network|accessdate=October 20, 2014}}</ref> วงอเมริกันร็อก เรดฮอตชิลีเพปเปอส์ ได้ความนิยมครั้งใหม่ในปี 1999 หลังจากออกอัลบัมชุด ''[[Californication (album)|แคลิฟอร์นิเคชัน]]'' (1999) ที่ยังคงประสบความสำเร็จล่วงเลยถึงคริสต์ทศวรรษ 2000
 
สิ่งที่ถูกอ้างถึงเกี่ยวกับออลเทอร์นาทิฟร็อกมากที่สุดในสหรัฐเมื่อผ่านปี 2010 คือแนวเพลง[[อินดี้ร็อก]] แต่เดิมคำนี้จำกัดการใช้อยู่แค่เพียงสื่อและช่องออลเทอร์นาทิฟร็อก<ref name=Fonarow/> สถานีวิทยุในคริสต์ทศวรรษ 2010 เปลี่ยนรูปแบบที่ไกลไปจากออลเทอร์นาทิฟร็อกยิ่งขึ้น แต่เป็นส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้หาโฆษณาให้มากกว่ายอดขายของสถานีประเภทท็อป 40/ท็อป 100<ref>{{cite web|last1=Grubbs|first1=Eric|title=Josh Venable on the Edge's Demise: 'Today Cheerleaders and Indie Kids Love Band of Horses'|url=http://www.dallasobserver.com/music/josh-venable-on-the-edges-demise-today-cheerleaders-and-indie-kids-love-band-of-horses-8914145|website=dallasobserver.com|publisher=Dallas Observer, LP.|accessdate=7 April 2018}}</ref> ขณะเดียวก็เกิดความเห็นขัดแย้งในประเด็นออลเทอร์นาทิฟร็อกต่อกลุ่มผู้ฟังเพลงกระแสหลักหลังปี 2010<ref>{{cite web|last=Catalano|first=Michele|title=Don't Believe The Billboard Charts; Rock Isn't Dead|url=https://www.forbes.com/sites/michelecatalano/2012/11/26/rock-is-dead-is-dead/|publisher=Forbes|accessdate=December 29, 2013}}</ref><ref>{{cite web|last=Pawlak|first=Christine|title=Alternative rock radio: The sad, unwarranted decline of FM Rock Stations.|url=http://www.slate.com/articles/arts/culturebox/2011/11/alternative_rock_radio_the_sad_unwarranted_decline_of_fm_rock_stations_.html|publisher=Slate|accessdate=December 29, 2013}}</ref> [[เดฟ โกรล]]แสดงความเห็นต่อบทความเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2013 บน ''[[New York Daily News|นิวยอร์กเดลีนิวส์]]'' ที่จั่วหัวว่า ร็อกได้ตายไปแล้ว<ref>{{cite web|last=Farber|first=Jim|title=VMAs 2013: Rock is dead, One Direction and Justin Timberlake's brands of Top 40 are king at MTV Awards|url=http://www.nydailynews.com/entertainment/tv-movies/rock-dead-mtv-vmas-concerned-article-1.1437419|publisher=NY Daily News|accessdate=December 29, 2013}}</ref> "ขอพูดเองเออเองว่า สำหรับตัวผมแล้ว ร็อกเหมือนจะยังมีชีวิตอยู่"<ref>{{cite web|last=Grohl|first=Dave|title=Twitter / foofighters: Hey @NYDailyNews, speak for...|url=https://twitter.com/foofighters/statuses/372099778470879232|publisher=Twitter|accessdate=December 29, 2013}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==