ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออลเทอร์นาทิฟร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 106:
 
ยังมีอีกหลายรูปแบบของออลเทอร์นาทิฟร็อกที่พัฒนาขึ้นในสหราชอาณาจักรในคริสต์ทศวรรษ 1980 ซาวด์ของวง[[เดอะจีซัสแอนด์แมรีเชน]]ได้รวมเอา "เสียงเศร้า" ของวง[[เดอะเวลเวตอันเดอร์กราวด์]] เข้ากับเมโลดี้เพลงป็อปของ[[เดอะบีชบอยส์]] และงานผลิตแบบ[[วอลล์ออฟซาวด์]]ของ[[ฟิล สเปกเตอร์]]<ref>{{cite web|url=https://www.rollingstone.com/music/artists/the-jesus-and-mary-chain/biography|title=The Jesus and Mary Chain Biography|work=[[Rolling Stone]]|accessdate=July 20, 2012}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/303087/the-Jesus-and-Mary-Chain?anchor=ref666600|title=Encyclopædia Britannica: the Jesus and Mary Chain|accessdate=July 20, 2012}}</ref> ขณะที่[[นิวออร์เดอร์]]เกิดขึ้นมาหลังจากวงโพสต์พังก์ จอยดิวิชัน สิ้นสลาย พวกเขาได้ทำการทดลองดนตรี[[เทคโน]]กับ[[เฮาส์ (แนวดนตรี)|เฮาส์]]<ref name="British alt-rock"/> เดอะแมรีเชน รวมถึงไดโนเสาร์จูเนียร์, ซีเอตตีซฺก และวงดรีมป็อป[[ค็อกโททวินส์]] เป็นผู้เป็นต้นแบบอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหว[[ชูเกซซิง]]ในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 ได้รับการขนานนามเรื่องสมาชิกของวงจ้องมองเท้าตัวเอง และเหยียบ[[กลุ่มเอฟเฟกต์|เอฟเฟกต์กีตาร์]]<ref>{{cite news|url=https://www.theguardian.com/music/2007/jul/27/popandrock|title=Diamond gazers|location=London|work=[[The Guardian]]|first=Jude|last=Rogers|date=July 27, 2007}}</ref> บนเวที มากกว่าที่จะปฏิสัมพันธ์กับผู้ชม วงชูเกซซิงอย่าง [[มายบลัดดีวาเลนไทน์]] และ[[สโลว์ไดฟ์]]ได้สร้างสรรค์เสียงอึกทึกอันท้วมท้น "อย่างไม่สนใจซาวด์เพลง" ที่ร้องอย่างคลุมเครือ และเล่นเมโลดีที่มีท่อนริฟฟ์เสียงต่ำ เสียงบิด และเสียงสะท้อน อย่างยาวนาน<ref>{{cite web|title=Genre&nbsp;– Shoegaze|publisher=[[AllMusic]]|url={{Allmusic|class=style|id=shoegaze-ma0000004454|pure_url=yes}}|accessdate=October 6, 2007}}</ref> วงชูเกซซิงโดดเด่นขึ้นมาในสื่อเพลงอังกฤษในปลายทศวรรษ ร่วมไปกับกระแสเพลง[[แมดเชสเตอร์]] การแสดงส่วนใหญ่ที่ไนต์คลับในแมนเชสเตอร์ที่ชื่อ เดอะฮาเซียนดา มีเจ้าของคือนิวออร์เดอร์และแฟกทอรีเรเคิดส์ มีการแสดงวงแมดเชสเตอร์อย่างเช่น [[แฮปปี้มันเดส์]] และ[[เดอะสโตนโรสเซส]]ที่ผสมเข้ากับจังหวะเต้นรำ[[แอซิดเฮาส์]] กับความป็อปของเมโลดีกีตาร์<ref>{{cite web|title=Genre&nbsp;– Madchester|publisher=[[AllMusic]]|url={{Allmusic|class=style|id=madchester-ma0000005017|pure_url=yes}}|accessdate=October 12, 2007}}</ref>
 
=== ความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1990 ===
ช่วงเริ่มต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 อุตสาหกรรมดนตรีถูกชักนำจากความเป็นไปได้ทางธุรกิจออลเทอร์นาทิฟร็อก และค่ายใหญ่หาวงต่าง ๆ อย่างแข็งขัน อาทิ [[เจนส์แอดดิกชัน]], [[เรดฮอตชิลีเพปเปอส์]], [[ไดโนเสาร์จูเนียร์]], [[ไฟร์โฮส]] และ[[เนอร์วานา]]<ref name="buzz"/> โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความสำเร็จของอาร์.อี.เอ็ม. ได้กลายเป็นพิมพ์เขียวให้กับวงออลเทอร์นาทิฟจำนวนมากในปลายยุคคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 วงมีผลงานอย่างยาวนานและในคริสต์ทศวรรษ 1990 ถือเป็นหนึ่งในวงที่ได้รับความนิยมที่สุดในโลก<ref name="American alt-rock"/>
 
[[ไฟล์:Nirvana around 1992.jpg|thumb|right|[[เคิร์ต โคเบน]] (คนหน้า) และ[[Krist Novoselic|คริสต์ โนโวเซลิช]] กับวง[[เนอร์วานา]]แสดงสดในงานเอ็มทีวีมิวสิกอะวอดส์ 1992]]
 
การแจ้งเกิดของวงเนอร์วานานำไปสู่ความนิยมอย่างกว้างขวางของออลเทอร์นาทิฟร็อกในคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อซิงเกิล "[[สเมลส์ไลก์ทีนสปิริต]]" จากอัลบัมชุด 2 ''[[เนเวอร์ไมนด์]]'' (1991) ออกขาย "ได้เป็นสัญลักษณ์กระตุ้นปรากฏการณ์ดนตรีกรันจ์" เป็นผลจากการออกอากาศมิวสิกวิดีโอของเพลงนี้ทางช่อง[[เอ็มทีวี]] ทำให้ ''เนเวอร์ไมนด์'' มียอดขาย 400,000 ชุดในสัปดาห์คริสต์มาส 1991<ref>Lyons, p. 120.</ref> จากความสำเร็จของ ''เนเวอร์ไมนด์'' ได้สร้างความประหลาดใจให้กับอุตสาหกรรมดนตรี ''เนเวอร์ไมนด์'' ยังไม่เพียงทำให้เพลงกรันจ์เป็นที่นิยม แต่ยังสร้าง "วัฒนธรรมและออลเทอร์นาทิฟร็อกเพื่อการค้าอย่างชัดเจนโดยทั่วไป"<ref>{{cite web | author=Olsen, Eric | title=10 years later, Cobain lives on in his music | publisher=[[MSNBC]].com | url=http://www.msnbc.msn.com/id/4652653/ | date=April 9, 2004 | accessdate=July 25, 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070828075858/http://www.msnbc.msn.com/id/4652653/ | archivedate=August 28, 2007 | deadurl=no}}</ref> ไมเคิล แอเซอร์แรดยังยืนยันว่า ''เนเวอร์ไมนด์'' เป็นสัญลักษณ์ "การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของวงการเพลงร็อก" ซึ่งขณะนั้นเพลง[[แกลมเมทัล|แฮร์เมทัล]]มีความโดดเด่นอยู่ตอนนั้นก็ได้เสื่อมลง ''เนเวอร์ไมนด์'' เป็นโฉมหน้าทางดนตรีที่แท้จริงและมีความสำคัญทางวัฒนธรรม<ref>Azerrad (1994), p.&nbsp;229–30.</ref>
 
ความสำเร็จที่สร้างความประหลาดใจของเนอร์วานาในอัลบัม ''เนเวอร์ไมนด์'' เป็นการประกาศ "การเปิดรับครั้งใหม่ให้กับออลเทอร์นาทิฟ" ให้กับสถานีวิทยุเพื่อการค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปิดประตูให้กับวงออลเทอร์นาทิฟที่หนักกว่านี้<ref>Rosen, Craig. "Some See 'New Openness' Following Nirvana Success". ''Billboard''. January 25, 1992.</ref> การตื่นตัวใน ''เนเวอร์ไมนด์'' ออลเทอร์นาทิฟ "ได้ขัดขืนใจตัวเองเพื่อก้าวสู่เพลงกระแสหลัก" รวมถึงค่ายเพลง ยังสร้างความสับสนของความสำเร็จในแนวเพลงนี้ ที่ยังไม่อยากกระตือรือล้นแย่งชิงเซ็นสัญญากับวงต่าง ๆ<ref>{{cite news|author=Browne, David |date=August 21, 1992 |title=Turn That @#!% Down! |publisher=EW.com |url=http://www.ew.com/ew/article/0,,311492,00.html |accessdate=April 17, 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070516121917/http://www.ew.com/ew/article/0%2C%2C311492%2C00.html |archivedate=May 16, 2007 |deadurl=no }}</ref> ''เดอะนิวยอร์กไทมส์'' เขียนไว้ในปี 1993 ว่า "ออลเทอร์นาทิฟร็อกยังดูไม่เหมือนเป็นทางเลือกอีกต่อไป ค่ายใหญ่ทุกค่ายมีวงที่ขับเคลื่อนโดยกีตาร์อยู่เต็มมือ สวมเสื้อเชิร์ตที่ไร้รูปร่างและยีนส์เก่า ๆ วงที่วางท่าแย่ ๆ กับท่อนริฟฟ์ที่ดีงาม ที่ยังไม่ติดหู และซ่อนความสามารถเบื้องหลังความไม่แยแสอะไร"<ref>{{cite news | author=Pareles, Jon | date=February 28, 1993 | title=Great Riffs. Big Bucks. New Hopes? | publisher=NYTimes.com | url=https://www.nytimes.com/1993/02/28/arts/pop-view-great-riffs-big-bucks-new-hopes.html | accessdate=July 19, 2009}}</ref> อย่างไรก็ดี ศิลปินออลเทอร์นาทิฟหลายวงก็ดูปฏิเสธความสำเร็จที่ขัดแย้งกับความหัวรั้น ในหลักการแนวเพลงแบบ[[ดีไอวาย]]ที่พวกเขาสนับสนุนก่อนที่จะระเบิดมาในกระแสหลัก รวมถึงแนวคิดเรื่องความเป็นศิลปินที่แท้จริงของพวกเขา<ref name="decade">Considine, J.D. "The Decade of Living Dangerously". ''[[Guitar World]]''. March 1999</ref>
 
====กรันจ์====
{{Main|กรันจ์}}
[[ไฟล์:Eddie Vedder and Pearl Jam in concert in Italy 2006.jpg|thumb|right|upright=0.9|[[Eddie Vedder|เอดดี เวดเดอร์]]จากวง[[เพิร์ลแจม]]]]
กรันจ์วงอื่นเริ่มทำสำเนาความสำเร็จแบบเนอร์วานาในเวลาต่อมา [[เพิร์ลแจม]]ออกอัลบัมชุดแรกที่ชื่อ ''[[Ten (Pearl Jam album)|เท็น]]'' ออกก่อน ''เนเวอร์ไมนด์'' 10 เดือน ในปี 1991 แต่ยอดขายอัลบัมกลับเพิ่มขึ้นในปีถัดมา<ref>{{cite web|title=Smackdown: Pearl Jam vs. Nirvana|url=http://soundcheck.wnyc.org/2011/sep/20/smackdown-grunge-turns-20/|publisher=Soundcheck|accessdate=June 20, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130223053056/http://soundcheck.wnyc.org/2011/sep/20/smackdown-grunge-turns-20/|archivedate=February 23, 2013|df=mdy-all}}</ref> ครึ่งหลังของปี 1992 ''เท็น'' แจ้งเกิดได้สำเร็จ ได้รับการยืนยันแผ่นเสียงทองคำขาวและขึ้นอันดับ 2 บน [[บิลบอร์ด 200|''บิลบอร์ด'' 200]]<ref>Pearlman, Nina. "Black Days". ''[[Guitar World]]''. December 2002.</ref> อัลบัม ''[[Badmotorfinger|แบดมอเตอร์ฟิงเกอร์]]'' ของ[[ซาวด์การ์เดน]], ''[[Dirt (Alice in Chains album)|เดิร์ต]]'' ของ[[อลิซอินเชนส์]] และ ''[[Core (Stone Temple Pilots album)|คอร์]]'' ของ[[สโตนเทมเพิลไพล็อตส์]] รวมถึงอัลบัม ''[[Temple of the Dog (album)|เทมเพิลออฟเดอะดอก]]'' อัลบัมการร่วมงานของสมาชิกจากวงเพิร์ลแจมและซาวด์การ์เดน อัลบัมเหล่านี้เป็นอัลบัมขายดีใน 100 อัลบัมแห่งปี 1992<ref>Lyons, p. 136.</ref> เมื่อความนิยมในวงกรันจ์เหล่านี้เกิดขึ้น ''โรลลิงสโตน'' ก็เรียกเมืองซีแอตเทิลว่า "[[ลิเวอร์พูล]]ใหม่"<ref name="success NYT"/> ค่ายหลักเซ็นสัญญากับวงกรันจ์ที่โดดเด่นขึ้นมาที่เมืองซีแอตเทิล ขณะที่การไหลบ่าของวงต่าง ๆ มายังเมืองนี้ เพราะหวังว่าจะประสบความสำเร็จ<ref>Azerrad (2001), p. 452–53.</ref>
 
ในเวลาเดียวกัน นักวิจารณ์ยืนยันว่า การโฆษณาได้รับองค์ประกอบแนวคิดของกรันจ์แล้วจะกลายมาเป็นแฟชันสมัยนิยม ''[[เอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี]]'' แสดงความเห็นในบทความปี 1993 ว่า "ไม่มีรูปแบบการหาผลประโยชน์ในวัฒนธรรมย่อยนับตั้งแต่สื่อค้นพบฮิปปีในคริสต์ทศวรรษ 1960"<ref>{{cite news | date=April 2, 1993 | title=Smells Like Big Bucks | publisher=''[[Entertainment Weekly]]'' | url=http://www.ew.com/ew/article/0,,306055,00.html | accessdate=July 25, 2007 | author=Kobel, Peter}}</ref> ''[[เดอะนิวยอร์กไทมส์]]'' เปรียบเทียบ "กรันจ์อเมริกา" กับตลาดมวลชนแบบพังก์ร็อก, [[ดิสโก้]] และ[[ฮิปฮอป]]ที่มาก่อนหน้านี้ ผลคือแนวเพลงกรันจ์ได้รับความนิยม ส่งผลกลับอย่างรุนแรงต่อกรันจ์ที่พัฒนาขึ้นมาในซีแอตเทิล<ref name="success NYT" /> อัลบัมถัดมาของเนอร์วานา ''[[In Utero (album)|อินยูเทโร]]'' (1993) ฟังดูโมโหอย่างตั้งใจ มือเบสของวง [[คริสต์ โนโวเซลิช]] อธิบายว่า "เป็นซาวด์ก้าวร้าวป่าเถื่อน เป็นอัลบัมทางเลือกอย่างแท้จริง"<ref>DeRogatis, Jim. ''Milk It!: Collected Musings on the Alternative Music Explosion of the 90s''. Cambridge: Da Capo, 2003. p. 18. {{ISBN|0-306-81271-1}}.</ref> อย่างไรก็ตาม เมื่อออกอัลบัมในเดือนกันยายน 1993 ''อินยูเทโร'' ก็ขึ้นอันดับ 1 บนชาร์ต ''บิลบอร์ด''<ref>{{cite news|date=October 8, 1993 |title=In Numero Uno |publisher=''[[Entertainment Weekly]]'' |url=http://www.ew.com/ew/article/0,,308282,00.html |accessdate=September 8, 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20071004211114/http://www.ew.com/ew/article/0%2C%2C308282%2C00.html |archivedate=October 4, 2007 |deadurl=yes }}</ref> เพิร์ลแจมก็ยังมียอดขายดีอยู่ในอัลบัมชุด 2 ''[[Vs. (Pearl Jam album)|Vs.]]'' (1993) โดยขึ้นอันดับ 1 ด้วยยอดขาย 950,378 ชุด ในสัปดาห์แรกที่ออกขาย<ref>{{cite news | url=http://www.ew.com/ew/article/0,,308749,00.html | title=Pearl's Jam | publisher=''[[Entertainment Weekly]]'' | date=November 19, 1993 | accessdate=August 29, 2007 | author=Hajari, Nisid}}</ref>
 
====บริตป็อป====
{{Main|บริตป็อป}}
[[ไฟล์:Oasis Noel and Liam WF.jpg|alt=Two-thirds body shot of a singer wearing a coat with wide lapels; a guitar player is in the background. Both have short, blond hair.|thumb|left|[[เลียม แกลลาเกอร์|เลียม]] กับ[[โนล แกลลาเกอร์]] แห่งวง[[โอเอซิส (วงดนตรี)|โอเอซิส]]]]
เมื่อกระแสแมดเชสเตอร์เสื่อมลง และชูเกซซิงก็ดูขาดเสน่ห์ กรันจ์ในอเมริกาก้าวสู่ขาขึ้น ยังมีอิทธิพลต่อกระแสออลเทอร์นาทิฟในอังกฤษ และสื่อดนตรีในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990<ref name="British alt-rock"/> การตอบสนองคือ วงอังกฤษปะปรายได้เกิดขึ้นมาด้วยความปรารถนาที่จะ "กำจัดเพลงกรันจ์" และ "ประกาศสงครามแก่อเมริกา" ได้เข้ามาครอบงำมวลชนและสื่อดนตรีท้องถิ่นอย่างรวดเร็ว<ref>Youngs, Ian. [http://news.bbc.co.uk/2/hi/entertainment/4144458.stm "Looking back at the birth of Britpop"]. ''[[BBC News]]''. August 14, 2005. Retrieved July 19, 2009.</ref> ชื่อ "บริตป็อป" ที่ตั้งโดยสื่อ การเคลื่อนไหวครั้งนี้นำโดย [[พัลป์]], [[เบลอ]], [[สเวด]] และ[[โอเอซิส (วงดนตรี)|โอเอซิส]] เป็นเสมือนการปะทุของกรันจ์ในแบบอังกฤษ ศิลปินเหล่านี้ได้ขับเคลื่อนออลเทอร์นาทิฟขึ้นสู่จุดสูงสุดของอันดับเพลงในประเทศบ้านเกิด<ref name="British alt-rock"/> วงบริตป็อปได้รับอิทธิพลและนำเสนอการแสดงความนับถือดนตรีกีตาร์อังกฤษในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระแสและแนวเพลงอย่างเช่น [[บริติชอินเวชัน]], [[แกลมร็อก]] และ[[พังก์ร็อก]]<ref>Harris, p. 202.</ref> ในปี 1995 ปรากฏการณ์บริตป็อปขึ้นสู่จุดสุดยอดจากสองอริ โอเอซิส และเบลอ ที่ได้สร้างสัญลักษณ์โดยการแข่งขันด้วยการออกซิงเกิลในวันเดียวกัน ผลคือ เบลอเป็นผู้ชนะใน "ศึกแห่งบริตป็อป" (The Battle of Britpop) แต่โอเอซิสก็ได้รับความนิยมมากกว่าเบลอในอัลบัมชุดที่ 2 ''[[(วอตส์เดอะสตอรี) มอร์นิงกลอรี?]]'' (1995)<ref>Harris, p. xvii.</ref> ซึ่งเป็นอัลบัมขายดีอันดับ 3 ในประวัติศาสตร์ของสหราชอาณาจักร<ref>{{cite news | date=November 16, 2006 | title=Queen head all-time sales chart | publisher=BBC.co.uk | url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/entertainment/6151050.stm | accessdate=January 3, 2007 | archiveurl=https://web.archive.org/web/20070204064437/http://news.bbc.co.uk/2/hi/entertainment/6151050.stm | archivedate=February 4, 2007 | deadurl=no}}</ref>
 
====อินดี้ร็อก====
{{Main|อินดี้ร็อก}}
[[ไฟล์:Pavement, the band, in Tokyo.jpg|thumb|200px|วงอินดี้ร็อก [[เพฟเมนต์]] ในปี 1993]]
ล้วนมีความหมายเดียวกับออลเทอร์นาทิฟร็อกในสหรัฐ อินดี้ร็อกมีความโดดเด่นขึ้นมาหลังจากเนอร์วานาแจ้งเกิด<ref name="allmusic indie rock" /> อินดี้ร็อกได้บัญญัติว่าเป็นการปฏิเสธออลเทอร์นาทิฟร็อกที่ซึมซับเข้าสู่กระแสหลักโดยศิลปินที่ไม่สามารถข้ามฟากไปได้หรือปฏิเสธการข้ามฟาก และระมัดระวังเรื่องสุนทรีย์แห่งความเป็นชาย (macho) ขณะที่ศิลปินอินดี้ร็อกไม่เชื่อใจลัทธิการค้าแบบพังก์ร็อก ด้วยแนวเพลงที่ไม่สามารถระบุนิยามได้อย่างแท้จริง ต่อคำที่ว่า "สมมติฐานโดยทั่วไปแล้วคือ มีความเป็นไปได้อย่างแท้จริงที่จะสร้างดนตรีอันหลากหลายของอินดี้ร็อกให้เข้ากันได้กับรสนิยมกระแสหลักเป็นสิ่งแรก"<ref name="allmusic indie rock">{{cite web | url={{Allmusic|class=style|id=indie-rock-ma0000004453|pure_url=yes}} | title=Indie Rock | accessdate=August 2, 2009 | publisher=[[AllMusic]]}}</ref>
 
ค่ายเพลงอย่างเช่น มาทาดอร์เรเคิดส์, เมิร์จเรเคิดส์ และดิสคอร์ด และชาวร็อกอินดี้อย่าง [[เพฟเมนต์]], [[ซูเปอร์ชังก์]], [[ฟูกาซี]] และ[[สลีเตอร์-คินนีย์]] เป็นผู้โดดเด่นในกระแสอินดี้อเมริกันตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990<ref>Azerrad (2001), pp. 495–97.</ref> หนึ่งในการเคลื่อนไหวที่สำคัญของอินดี้ร็อกในคริสต์ทศวรรษ 1990 คือ[[Lo-fi music|เพลงโลฟาย]] การเคลื่อนไหวนี้มุ่งไปที่การบันทึกเสียงและแจกจ่ายดนตรีที่มีคุณภาพต่ำอย่าง[[ตลับเทป]] ที่ตอนแรกเกิดขึ้นมาในคริสต์ทศวรรษ 1980 จนปี 1992 วงเพฟเมนต์, ไกด์บายวอยซ์ และเซบาโดห์ ได้รับความนิยมในกลุ่มผู้ชื่นชอบแนวโลฟายในสหรัฐ ขณะที่ศิลปินที่ตามมาทีหลังอย่าง [[เบ็ก]] และ[[ลิซ แฟร์]]ได้สร้างสุนทรีย์แก่คนฟังกระแสหลัก<ref name="allmusic lofi">{{cite web | url={{Allmusic|class=style|id=lo-fi-ma0000002701|pure_url=yes}} | title=Lo-Fi | accessdate=August 2, 2009 | publisher=[[AllMusic]]}}</ref> ยุคนี้ยังเห็นนักร้อง-นักแต่งเพลงออลเทอร์นาทิฟหญิงแนวสารภาพ นอกเหนือจากลิซ แฟร์ ก็มี[[พีเจ ฮาร์วีย์]]ที่อยู่ในกลุ่มย่อยนี้<ref>Erlewine, Stephen Thomas. [{{BillboardURLbyName|artist=pj harvey|bio=true}} "PJ Harvey Biography"]. Billboard.com. Retrieved July 20, 2012.</ref>
 
====โพสต์กรันจ์====
{{Main|โพสต์กรันจ์}}
[[ไฟล์:Creed (band) in 2002.jpg|thumb|right|[[ครีด]] วงแนวโพสต์กรันจ์ ถ่ายในปี 2002]]
ในต่อจากครึ่งหลังของคริสต์ทศวรรษ 1990 กรันจ์ถูกแทนที่ด้วย[[โพสต์กรันจ์]] วงโพสต์กรนจ์หลายวงขาดรากฐานความเป็นเพลงใต้ดินของกรันจ์และได้รับอิทธิพลอย่างมากจากที่กรันจ์ยุคเปลี่ยน กล่าวคือ "เป็นรูปแบบหนึ่งของความนิยมอย่างรนแรงที่มองเข้าไปข้างใน, ดนตรีฮาร์ดร็อกที่มุ่งมั่นจริงจัง" วงโพสต์กรันจ์หลายวงเลียนแบบซาวด์และสไตล์ของกรันจ์ "แต่ไม่จำเป็นต้องทำตัวประหลาดเหมือนอย่างศิลปินต้นฉบับ"<ref name="allmusic postgrunge" /> โพสต์กรันจ์เป็นแนวเพลงที่ประสบความสำเร็จยิ่งกว่า โดยลดเสียงบิดกีตาร์ของกรันจ์ให้ดีขึ้น พร้อมเพื่อออกอากาศทางวิทยุ<ref name="allmusic postgrunge">{{cite web | url={{Allmusic|class=style|id=post-grunge-ma0000005020|pure_url=yes}} | title=Post-Grunge | accessdate=August 28, 2007 | publisher=[[AllMusic]]}}</ref> เดิมทีโพสต์กรันจ์เป็นการแบ่งประเภทอย่างเหยียบหยาม กับวงเกือบแทบทั้งหมดที่เกิดขึ้นเมื่อกรันจ์อยู่ในกระแสหลักและลอกเลียนแบบซาวด์ของกรันจ์ การแบ่งประเภทนี้บ่งถึงวงที่ใช้ว่าโพสต์กรันจ์ว่า เป็นดนตรีดัดแปลง หรือตอบโต้อย่างถากถางกับการเคลื่อนไหวร็อกทีเป็นของแท้<ref name="PostGrungeAbout">{{cite web| author=Grierson, Tim |url=http://rock.about.com/od/rockmusic101/a/PostGrunge.htm|title=Post-Grunge. A History of Post-Grunge Rock |publisher=[[About.com]]}}</ref> [[บุช (วงอังกฤษ)|บุช]], [[Candlebox|แคนเดิลบอกซ์]] และ[[Collective Soul|คอลเลกทีฟโซล]]ถูกเย้ยว่าเป็น โพสต์กรันจ์ ทิม เกรียร์สันจาก อะเบาต์.คอม เขียนว่า "แทนที่จะเป็นการเคลื่อนไหวทางดนตรีโดยความชอบของตน พวกเขาเป็นอย่างที่คิด ได้รับการตอบรับอย่างถากถางต่อการเปลี่ยนสไตล์เป็นดนตรีร็อกของเก๊"<ref name="PostGrungeAbout" /> โพสต์กรันจ์ได้แปลเปลี่ยนไปในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 อาทิวงอย่าง [[ฟูไฟเตอส์]], [[ครีด]] และ [[นิกเคลแบ็ก]] ได้เกิดขึ้นมา<ref name="PostGrungeAbout" />
 
====โพสต์ร็อก====
{{Main|โพสต์ร็อก}}
[[โพสต์ร็อก]]กำเนิดขึ้นจากอัลบัม ''[[Laughing Stock (album)|ลาฟฟิงสต็อก]]'' ของ[[ทอล์กทอล์ก]] และอัลบัม ''[[Spiderland|สไปเดอร์แลนด์]]'' ของ[[สลินต์]] ทั้ง 2 ชุด ออกในปี 1991<ref name="allmusic postrock" /> โพสต์ร็อกได้รับอิทธิพลจากหลากหลายแนวเพลง อาทิ [[เคราต์ร็อก]], [[โพรเกรสซิฟร็อก]] และ[[แจ๊ซ]] แนวนี้โค่นล้มหรือปฏิเสธจารีตเพลงร็อก และมักจะรวมเพลงอิเล็กทรอนิกส์<ref name="allmusic postrock" /> ขณะที่ชื่อของแนวเพลงเกิดขึ้นโดยนักข่าวดนตรี ไซมอน เรย์โนลส์ ในปี 1994 สไตล์ของแนวเพลงที่แข็งแรงขึ้นจากการออกวางขายอัลบัม ''[[Millions Now Living Will Never Die|มิลเลียนส์นาวลิฟวิงวิลล์เนเวอร์ดาย]]'' (1996) ของศิลปินจาก[[ชิคาโก]] [[ทอร์ทอยส์ (วงดนตรี)|ทอร์ทอยส์]]<ref name="allmusic postrock" /> โพสต์ร็อกโดดเด่นขึ้นในรูปแบบของดนตรีร็อกทดลองในคริสต์ทศวรรษ 1990 หลายวงในแนวนี้ได้เซ็นสัญญากับค่ายเพลงเช่น [[Thrill Jockey|ทริลล์จอกกี]], [[Kranky (record label)|แครงกี]], [[Drag City (record label)|แดรกซิตี]] และ[[Too Pure|ทูเพียวร์]]<ref name="allmusic postrock">{{cite web | url={{Allmusic|class=style|id=post-rock-ma0000002790|pure_url=yes}} | title=Post-Rock | accessdate=July 28, 2009 | publisher=[[AllMusic]]}}</ref> แนวเพลงที่ใกล้เคียงกัน อย่าง [[แมทร็อก]] ถึงจุดสูงสุดในกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อเปรียบเทียบโพสต์ร็อกกับแมทร็อกที่ดู "ร็อกกิสต์" มากกว่า (คนที่เห็นว่าร็อกดีกว่าป็อป) และเชื่อใจใน[[เครื่องหมายกำหนดจังหวะ]]อันซับซ้อน และถ้อยคำอันสอดประสาน<ref name="allmusic mathrock">{{cite web | url={{Allmusic|class=style|id=math-rock-ma0000012250|pure_url=yes}} | title=Math Rock | accessdate=August 6, 2009 | publisher=[[AllMusic]]}}</ref> เมื่อสิ้นศตวรรษเกิดกระแสย้อนกลับอย่างรุนแรงต่อเพลงโพสต์ร็อกอันเนื่องจาก "ไร้สติปัญญา" และสามารถสัมผัสได้ถึงการคาดเดาที่เพิ่มขึ้นได้ แต่วงโพสต์ร็อกคลื่นลูกใหม่อย่าง [[Godspeed You! Black Emperor|กอดสปีดยู! แบล็กเอมเพอร์เรอร์]] และ[[ซีกือร์โรส]] เกิดขึ้นมาพร้อมกับการขยับขยายแนวเพลงให้กว้างขึ้นไป<ref name="allmusic postrock" />
 
====ความนิยมอื่น====
[[ไฟล์:Reel Big Fish live in Santa Cruz.jpg|thumb|190px|รีลบิกฟิชในปี 2008]]
ปี 1993 อัลบัม ''[[ไซมิสดรีม]]'' ของ[[เดอะสแมชชิงพัมป์กินส์]]ประสบความสำเร็จด้านยอดขายอย่างมาก อัลบัมได้รับอิทธิพลเพลง[[เฮฟวีเมทัล]]และ[[โพรเกรสซิฟร็อก]]อย่างมาก ทำให้ออลเทอร์นาทิฟร็อกก้าวสู่รายการกระแสหลักทางวิทยุและปิดช่องโหว่ระหว่างออลเทอร์นาทิฟร็อกกับดนตรีร็อกที่เล่นเพลงร็อกอเมริกันยุคคริสต์ทศวรรษ 1970<ref>[http://www.allmusic.com/artist/smashing-pumpkins-mn0000036521 AllMusic Smashing Pumpkins bio]</ref> ในปี 1995 สแมชชิงพัมป์กินส์ยังออกอัลบัมคู่ชุด ''[[Mellon Collie & the Infinite Sadness|เมลลอนคอลลายแอนด์เดอะอินฟินิตแซดเนสส์]]'' ที่ขายได้ 10 ล้านชุดเฉพาะในสหรัฐ ได้รับการยืนยันแผ่นเสียงเพชรอีกด้วย
 
หลังจากเกือบ 10 ปีที่เพลงใต้ดิน, [[สกาพังก์]] และเพลงที่มีส่วนผสมของสกาอังกฤษยุคแรก ๆ กับพังก์ ได้รับความนิยมในสหรัฐ วง[[แรนซิด]]เป็นวงแรกที่ได้แจ้งเกิดจาก "การกลับมาคลื่นลูกที่ 3 ของสกา" และในปี 1996 วง[[ไมตีไมตีบอสสโตนส์]], [[โนเดาต์]], [[Sublime (band)|ซับไลม์]], [[Goldfinger (band)|โกลด์ฟิงเกอร์]], [[Reel Big Fish|รีลบิกฟิช]], [[Less Than Jake|เลสส์แดนเจก]] และ[[Save Ferris|เซฟเฟอร์ริส]] มีเพลงเข้าชาร์ตหรือได้รับกระแสตอบรับท่วมท้นทางวิทยุ<ref>Thompson, Dave. ''Alternative Rock : Third Ear - The Essential Listening Companion''. Backbeat Books, 2000. {{ISBN|978-0879306076}} p 112.</ref><ref>[http://www.allmusic.com/style/third-wave-ska-revival-ma0000012129 AllMusic Third Wave Ska Revival]</ref>
 
====เปลี่ยนซาวด์====
ช่วงสิ้นสุดทศวรรษ สไตล์ของออลเทอร์นาทีฟได้เปลี่ยนไปเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ขึ้นมากมาย เรื่องที่น่าจดจำอย่างเช่น การเสียชีวิตของ[[เคิร์ต โคเบน]] แห่งวงเนอร์วานาในปี 1994 และการมีคดีความของวงเพิร์ลแจมต่อผู้จัดงานคอนเสิร์ต [[ทิกเกตมาสเตอร์]] ที่ส่งผลกีดกันให้วงไม่ได้เล่นงานใหญ่ ๆ หลายงานในสหรัฐ<ref name="decade"/> นอกจากนี้เกิดความเสื่อมความนิยมในวงกรันจ์ บริตป็อปก็ร่วงโรยกันไป อย่างอัลบัมชุดที่ 3 ของโอเอซิส ''[[Be Here Now (album)|บีเฮียร์นาว]]'' (1997) ได้คำวิจารณ์ไม่สดใสนัก ส่วนวงเบลอก็เริ่มได้รับอิทธิพลจากออลเทอร์นาทิฟร็อกอเมริกัน<ref>Harris, p. xix.</ref> การเปลี่ยนสัญญะที่สื่อความหมายของออลเทอร์นาทิฟร็อกก่อให้เทศกาลดนตรีลอลลาปาลูซาหายไปหลังจากพยายามหาวงนำมาแสดงไม่สำเร็จในปี 1998 ความจริงคือปัญหาที่เกิดในปีนั้น ''[[สปิน (นิตยสาร)|สปิน]]'' ได้บอกไว้ว่า "ลอลลาปาลูซาดูเฉื่อยชาเหมือนอย่างออลเทอร์นาทิฟร็อกตอนนี้"<ref>Weisbard, Eric. "This Monkey's Gone to Heaven". ''Spin''. July 1998.</ref>
 
แม้จะเปลี่ยนไปในแง่สไตล์ ออลเทอร์นาทิฟร็อกยังคงอยู่ในกระแสได้อยู่ โพสต์กรันจ์ยังคงทำเงินได้เมื่อเริ่มศตวรรษที่ 21 เมื่อวงอย่าง[[ครีด]] และ[[แมตช์บ็อกซ์ทเวนตี]] ถือเป็นวงร็อกที่ได้รับความนิยมที่สุดในสหรัฐ<ref name="allmusic postgrunge"/> ขณะเดียวกัน บริตป็อปเริ่มเสื่อมความนิยม [[เรดิโอเฮด]]ที่เคยได้รับเสียงวิจารณ์ที่ดีในอัลบัมชุด 3 ''[[OK Computer|โอเคคอมพิวเตอร์]]'' (1997) จนอัลบัมถัดมา ''[[Kid A|คิดเอ]]'' (2000) และ ''[[Amnesiac (album)|แอมนีซิแอก]]'' (2001) ที่ได้รับการกล่าวว่าแตกต่างจากประเพณีนิยมบริตป็อป เรดิโอเฮดและวงบริตป็อปยุคหลังอย่าง [[แทรวิส]] และ[[โคลด์เพลย์]] ถือเป็นกำลังสำคัญของร็อกอังกฤษในยุคถัดมา<ref>Harris, p.&nbsp;369–70.</ref>
 
[[ไฟล์:Jimmy Eat World Reading.jpg|thumb|right|200px|วงอีโม [[จิมมีอีตเวิลด์]] แสดงในปี 2007]]
 
กลางคริสต์ทศวรรษ 1990 วง[[ซันนีเดย์รีลเอสเตต]]ได้กำหนดนิยามเพลง[[อีโม]]ขึ้นมา อัลบัม ''[[พิงเคอร์ตัน]]'' (1996) ของ[[วีเซอร์]]ก็ถือว่าเป็นอัลบัมที่สร้างผลกระทบ ในปี 2000 เมื่อก้าวทศวรรษใหม่ อีโมเป็นแนวเพลงร็อกที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแนวเพลงหนึ่ง<ref name=Allmusicemo/> ผลงานยอดนิยมที่ประสบความสำเร็จได้ยอดขายได้แก่ ''[[Bleed American|บลีดอเมริกา]]'' ของ[[จิมมีอีตเวิลด์]] (2001) และ ''[[The Places You Have Come to Fear the Most|เดอะเพลซซิสยูแฮฟคัมทูเฟียร์เดอะโมสต์]]'' ของ[[แดชบอร์ดคอนเฟชชันนอล]] (2003)<ref name=DeRogatis2003>{{Cite journal|last=J. DeRogatis |title=True Confessional? |journal=[[Chicago Sun Times]] |date=October 3, 2003 |url=http://www.jimdero.com/News2003/Oct3LiveDashboard.htm |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWYWZCCf?url=http://www.jimdero.com/News2003/Oct3LiveDashboard.htm |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> อีโมแบบใหม่มีซาวด์แบบกระแสหลักมากขึ้นมากกว่าในคริสต์ทศวรรษ 1990 และดูดึงดูดใจต่อวัยรุ่นได้อย่างมาก มากกว่าช่วงก่อร่างสร้างตัวในช่วงก่อนหน้านี้<ref name=DeRogatis2003/> ขณะเดียวกัน การใช้คำว่า "อีโม" ขยับขยายไปมากกว่าคำว่าแนวเพลง ได้กลายมาเป็นแฟชั่น ทรงผม และดนตรีที่ปลดปล่อยอารมณ์<ref>{{Cite journal|last=H. A. S. Popkin |title=What exactly is 'emo,' anyway? |journal=MSNBC.com |date=March 26, 2006 |url=http://www.msnbc.msn.com/id/11720603/ |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWYk5jSh?url=http://today.msnbc.msn.com/id/11720603 |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> ความสำเร็จอย่างต่อเนื่องของอีโมในกระแสหลักกับวงที่เกิดขึ้นใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 2000 อาทิวงที่ทำผลงานหลักแผ่นเสียงทองคำขาวหลายชุดอย่าง [[ฟอลล์เอาต์บอย]]<ref name=chartblog>{{Cite journal|last=F. McAlpine |title=Paramore: Misery Business |journal=MSNBC.com |date=June 14, 2007 |url=http://www.bbc.co.uk/blogs/chartblog/2007/06/paramore_misery_business.shtml |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWYwhbF5?url=http://www.bbc.co.uk/blogs/chartblog/2007/06/paramore_misery_business.shtml |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> และ[[มายเคมิคอลโรแมนซ์]]<ref>{{Cite journal|last=J. Hoard |title=My Chemical Romance |journal=Rolling Stone |date= |url=https://www.rollingstone.com/music/artists/my-chemical-romance/biography |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWZL1bZ0?url=http://www.rollingstone.com/music/artists/my-chemical-romance/biography |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref> รวมถึงวงในกระแสหลักอย่าง [[พาร์อะมอร์]]<ref name=chartblog/> และ[[Panic! at the Disco|แพนิก! แอตเดอะดิสโก]]<ref>{{Cite journal|last=F. McAlpine |title=Paramore "Misery Business" |journal=NME |date=December 18, 2006 |url=http://www.nme.com/news/nme/24758 |archiveurl=https://www.webcitation.org/5wWZYAwIz?url=http://www.nme.com/news/nme/24758 |archivedate=February 15, 2011 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} |deadurl=no |df=mdy }}.</ref>
 
===ศตวรรษที่ 21===