ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร์ส 2020"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox spaceflight
| name = มาร์ส 2020
| image = Computer-Design Drawing for NASA's 2020 Mars Rover.jpg
| image_caption =
| image_size = 300px
 
| mission_type = [[ยานสำรวจอวกาศ]]
| operator = [[NASA]]{{\}}[[Jet Propulsion Laboratory|JPL]]
| COSPAR_ID = <!--spacecraft launched since 1963 only (aka NSSDC ID; e.g. 1998-067A)-->
| SATCAT = <!--satellite catalogue number, omit leading zeroes (e.g. 25544)-->
| website = {{url|mars.jpl.nasa.gov/mars2020/}}
| mission_duration = 1 ปีดาวอังคาร (668 วันบนโลก)<ref name="NASA-Mars2020">{{cite web |url=http://mars.jpl.nasa.gov/mars2020/mission/overview/ |title=Mission: Overview |publisher=NASA |accessdate=7 March 2015}}</ref>
 
| manufacturer = [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น|Jet Propulsion Laboratory]]
| launch_mass = ยานสำรวจ: {{convert|1050|kg|lb|0|abbr=on}}<ref name='Homepage Design'/>
| payload_mass = <!--Mass of cargo carried by spacecraft (e.g. for Space Shuttle), or total mass of instrumentation/equipment/experiments for mission-->
| dimensions = ยานสำรวจ: ยาว 3 เมตร กว้าง 2.7 เมตร สูง 2.2 เมตร
<ref name='Homepage Design'>{{cite web |url=https://mars.jpl.nasa.gov/mars2020/mission/rover/ |title=Designing A Mars Rover To Launch in 2020 |publisher=NASA/JPL |accessdate=6 July 2018}}</ref>
| power = 110 watts<ref name=Power>{{cite web |url=https://mars.jpl.nasa.gov/mars2020/mission/rover/electrical-power/ |title=Mars 2020 Rover Tech Specs |publisher=JPL/NASA |accessdate=6 July 2018}}</ref>
 
| launch_date = 17 กรกฎาคม ถึง 5 สิงหาคม 2020<ref name="NASAoverview">{{Cite web|url=http://mars.nasa.gov/mars2020/mission/overview/|title=Overview - Mars 2020 Rover|last=mars.nasa.gov|website=mars.nasa.gov|access-date=19 February 2019}}</ref>
| launch_rocket = [[Atlas V|Atlas V 541]]<ref name="Launchvehicle">{{cite news |url=http://spaceflightnow.com/2016/07/25/nasa-books-nuclear-certified-atlas-5-rocket-for-mars-2020-rover-launch/ |title=NASA books nuclear-certified Atlas 5 rocket for Mars 2020 rover launch |work=Spaceflight Now |first=Justin |last=Ray |date=25 July 2016 |accessdate=26 July 2016}}</ref>
| launch_site = [[แหลมคะแนเวอรัล]]
| launch_contractor = <!--organisation(s) that conducted the launch (e.g. United Launch Alliance, Arianespace, etc)-->
| entered_service = <!--date when the spacecraft entered service, if it did not do so immediately after launch-->
 
|interplanetary =
{{Infobox spaceflight/IP
|type = rover
|object = [[ดาวอังคาร]]
|component = Rover
|arrival_date = 18 กุมภาพันธ์ 2021<ref name="NASAoverview" />
|location = [[Jezero crater]]
|distance = <!--distance travelled on surface-->
}}
 
| insignia = [[File:Mars 2020 JPL insignia.svg|frameless|upright=0.5]]
| insignia_caption = Jet Propulsion Laboratory insignia
 
| programme = [[Mars Exploration Program]]
| previous_mission = ''[[คิวริออซิตี (โรเวอร์)]]''
| next_mission =
}}
'''มาร์ส 2020''' ({{lang-en|Mars 2020}}) เป็นยานสำรวจดาวอังคารในโครงการ NASA's Mars Exploration Program (MEP)ของ[[นาซา|นาซ่า]] ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการที่นาซ่าพยายามที่จะค้นหาความลับของดาวเคราะห์ดวงนี้ ภารกิจนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษาวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการดำรงชีวิตบนดาวอังคาร​ โดยในการสำรวจดาวอังคาร​ครั้ง​นี้​นาซาจะส่ง[[เฮลิคอปเตอร์สำรวจดาวอังคาร]]​ไปด้วย​ โดยนาซาจะติดตั้งเฮลิคอปเตอร์​ไว้ที่ส่วนท้องของมาร์ส2020​ ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นยานหลัก​ และทำหน้าที่ปล่อยเฮลิคอปเตอร์​ขึ้นบินสำรวจ
 
== การออกแบบ ==
มาร์ส 2020 ได้รับการออกแบบให้คล้าย [[คิวริออซิตี (โรเวอร์)|คิวรีออซิตี้]] มีความยาว 10 ฟุต (ไม่รวมความยาวแขนกล) กว้าง 9 ฟุต สูง 7 ฟุต แต่หนักถึง 2314 ปอนด์ หรือประมาณ 1050 กิโลกรัม (1.05 ตัน) โครงสร้างถูกออกแบบมาเพื่อป้องกันชิ้้นส่วนภายใน ในส่วนที่เป็นสมองกลใช้[[ระบบประมวลผลข้อมูล|ระบบประมวลผล]]แบบ[[คอมพิวเตอร์]] ในเรื่องของการควบคุมอุณหภูมิ ภายในประกอบด้วยเครื่องทำความร้อน (internal heater) เพื่อให้ยานสามารถทำงานได้ในอุณหภูมิที่หนาวจัด และ[[ฉนวน]]กันความร้อนเพื่อป้องกันความร้อนจากอวกาศที่จะทำให้อุปกรณ์ของยานเสียหาย ส่วนหัวของยานวางอยู่บนเสายาวเพื่อให้ยานสามารถมองเห็นในระดับมนุษย์ได้ กล้องที่ติดอยูู่บนส่วนหัวของยานสามารถที่จะเก็บข้อมููลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของดาวอังคารได้ นอกจากนั้นส่วนหัวยังประกอบไปด้วยอุุปกรณ์ที่ทำให้ยานสามารถฟังและเปล่งเสียงได้ แขนและมือกออกแบบมาเพื่อศึกษาโครงสร้างของหินให้ละเอียดมากขึ้น ขาถูกออกแบบมาให้เหมาะกับการเคลื่อนที่บนดาวอังคาร