ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิกโลช โฮร์ตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 34:
'''วิเตซ<ref>"วิเตซ" (Vitéz) หมายถึงระดับชั้นอัศวินระดับหนึ่งที่มิกโลช โฮร์ตี ตั้งขึ้น; "วิเตซ" มีความหมายตามตัวอักษรว่า "อัศวิน" หรือ "กล้าหาญ"</ref> มิกโลช โฮร์ตี แห่งน็อจบาญอ''' ({{lang-hu|nagybányai Horthy Miklós}}, {{IPA-hu|ˈnɒɟbaːɲɒi ˈhorti ˈmikloːʃ}}; [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: '''Nicholas Horthy''';<ref>Owen Rutter, Averil Mackenzie-Grieve, Lily Doblhoff (baroness.) : Regent of Hungary: the authorized life of Admiral Nicholas Horthy</ref> {{lang-de|Nikolaus Horthy Ritter von Nagybánya}}) เป็น[[พลเรือเอก]]และ[[รัฐบุรุษ]][[ชาวฮังการี]] ที่ได้กลายเป็นผู้สำเร็จราชการแห่ง[[ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)|ราชอาณาจักรฮังการี]] เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแห่งอาณาจักรฮังการี[[ประวัติศาสตร์ฮังการีในสมัยระหว่างสงคราม|ในสมัยระหว่างสงคราม]] และเกือบตลอดช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1920 ถึง 15 ตุลาคม ค.ศ. 1944 เขาได้ถูกขนามนามว่า "ฮิสเซอรีนไฮเนส ผู้สำเร็จราชการแห่งอาณาจักรฮังการี"(ฮังการี: ''Ő Főméltósága a Magyar Királyság Kormányzója'')
 
โฮร์ตีได้เริ่มอาชีพของเขาในฐานะที่เป็นเรือตรีในกองทัพเรือออสเตรีย-ฮังการีในปี ค.ศ. 1896 และได้รับยศตำแหน่งเป็นพลเรือตรีในปี ค.ศ. 1918 เขาได้แสดงถึงการปฏิบัติหน้าที่ในยุทธการที่ Strait of Otranto และกลายเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเรือออสเตรีย-ฮังการีในช่วงท้ายปีของ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เขาได้รับการเลื่อนยศตำแหน่งเป็นพลเรือโทและผู้บัญชาการกองเรือ เมื่อพลเรือเอกก่อนหน้านี้ได้ถูกขับออกจากตำแหน่งโดยจักรพรรดิคาร์ลที่ได้ให้การสนับสนุนการก่อกบฏ ในปี ค.ศ. 1919 ตามมาด้วยส่วนหนึ่งของการปฏิวัติและการเข้าแทรกแซงจากภายนอกในฮังการี ตั้งแต่[[ราชอาณาจักรโรมาเนีย|โรมาเนีย]] [[เชโกสโลวาเกีย]] และ[[ยูโกสลาเวีย]] โฮร์ตีได้เดินทางกลับบูดาเปสต์พร้อมกับกองทัพแห่งชาติและต่อมาก็ได้รับเชิญให้เป็นผู้สำเร็จราชการจากรัฐสภา โฮร์ตีได้นำรัฐบาล[[ชาติอนุรักษนิยม]]<ref>John Laughland: ''A History of Political Trials: From Charles I to Saddam Hussein'', Peter Lang Ltd, 2008 [https://books.google.com/books?id=1sRMIZGX9UMC&pg=PA143&dq=%22National+conservative%22+Horthy&hl=en&sa=X&redir_esc=y#v=onepage&q=%22National%20conservative%22%20Horthy&f=false]</ref>ตลอดช่วง[[สมัยระหว่างสงคราม]] และได้ประกาศให้[[พรรคคอมมิวนิสต์ฮังการี]]และ[[พรรคแอร์โรว์ครอสส์]] เป็นพรรคการเมืองผิดกฎหมาย และดําเนินนโยบายต่างประเทศที่มุ่งเน้นการเรียกร้องดินแดนที่เสียไปใน[[สนธิสัญญาไทรอานอน]] คืน เขาเป็นผู้ทําให้การให้ความพยายามคืนสู่บัลลังก์ของ [[จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย|สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4]] ทั้งสองครั้งในปี ค.ศ. 1921 ต้องล้มเหลว รัฐบาลฮังกาฮังการีตกอยู่ใต้ภัยคุกคามของจากฝ่ายสัมพันธมิตรที่อาจจะประกาศสงคราม หากมีการฟื้นฟู[[ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค]] ขึ้นมาสมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 จึงทรงถูกพาออกไปจากฮังการีโดยเรือรบของสหราชอาณาจักรในสถานะผู้ลี้ภัย
 
ในปลายปี ค.ศ. 1930 นโยบายต่างประเทศของโฮร์ตีนั้นได้ทำให้เขาต้องกลายเป็นพันธมิตรอย่างไม่เต็มใจกับ[[นาซีเยอรมนี|เยอรมนี]]ในการต่อกรกับ[[สหภาพโซเวียต]] ด้วยการสนับสนุนอย่างเดียดฉันท์ของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] โฮร์ตีนั้นสามารถกู้คืนดินแดนบางส่วนที่ถูกเอาไปจากพวกเขาโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ภายใต้การนำของโฮร์ตี, ฮังการีได้ให้การสนับสนุนผู้ลี้ภัยชาวโปแลนด์ในปี ค.ศ. 1939 และได้มีส่วนร่วมในบทบาทการสนับสนุน (เป็นฝ่ายตรงข้ามกับแนวหน้า) ในช่วงที่[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|เยอรมันเข้ารุกรานสหภาพโซเวียต]]ในปี ค.ศ. 1941 และ[[การบุกครองยูโกสลาเวีย|เยอรมันเข้ารุกรานยูโกสลาเวีย]]ในปีเดียวกัน ได้ครอบครองและผนวกรวมเข้ากับดินแดนของชาวฮังการีในอดีตซึ่งได้ถูกมอบให้กับราชณาจักรเซิร์บ โครแอต และสโลวีเนีย ([[ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย|ยูโกสลาเวีย]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1929) โดยฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อย่างไรก็ตาม, ด้วยความไม่เต็มใจของโฮร์ตีที่จะมีส่วนร่วมในความพยายามทำสงครามของเยอรมันและ[[ฮอโลคอสต์ในฮังการี]] รวมทั้งได้ปฏิเสธที่จะส่งมอบชาวยิวเชื้อสายฮังการีมากกว่า 600,000 คนจาก 825,000 คนให้แก่เจ้าหน้าที่เยอรมัน ควบคู่ไปกับความพยายามหลายครั้งในการจัดการข้อตกลงอย่างลับๆกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง]] หลังจากได้เห็นชัดเจนว่า ฝ่ายอักษะจะพ่ายแพ้สงคราม จนท้ายที่สุดก็ทำให้เยอรมันต้องส่งกองทัพเข้าไปรุกรานและเข้าควบคุมประเทศในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1944 ใน[[ปฏิบัติการมาร์กาเรต]] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1944 โฮร์ตีได้แถลงการณ์ว่าฮังการีนั้นได้ประกาศสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรและถอนตัวออกจาก[[ฝ่ายอักษะ]]แล้ว เขาได้ถูกบังคับให้ลาออก, ถูกจับกุมโดยเยอรมันและถูกพาตัวไปยัง[[รัฐบาวาเรีย|บาวาเรีย]] ในช่วงท้ายสงคราม, เขาได้อยู่ภายใต้การดูแลของทหารอเมริกัน<ref>von Papen, Franz, ''Memoirs'', London, 1952, pps:541-23, 546.</ref>