ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอลคาลอยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชนิดเขาพิมพ์ผิด
เขียนผิด
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Papaver somniferum 01.jpg|thumb|250px|แอลคาลอยด์ที่พบตัวแรกคือ [[มอร์ฟีน]] แยกได้ใน พ.ศ. 2347 จากต้น[[ฝิ่น]] (''Papaver somniferum'') <ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=MtOiLVWBn8cC&pg=PA20|page=20|title=Molecular, clinical and environmental toxicology|author=Andreas Luch|publisher=Springer|year=2009|isbn=3-7643-8335-6}}</ref>]]
[[ไฟล์:Strychnos nux-vomica - Köhler–s Medizinal-Pflanzen-266.jpg|thumb|ในเมล็ด[[แสลงใจ]] มี strychnine และ brucine ซึ่งเป็นสารกลุ่มแอลคาลอยด์จำนวนมาก]]
'''แอลคาลอยด์''' ({{lang-en|alkaloid}}) เป็นสารอินทรีย์กลุ่มที่มีธาตุ[[ไนโตรเจน]]อยู่ภายในโมเลกุล ในรูปของ[[เอมีน]] (amine) [[เอมีนออกไซด์]] (amine oxide) หรืออาจพบอยู่ในรูปของ[[เอไมด์]] (amide) และ[[อีไมด์]] (imide) ไนโตรเจนในแอลคาลอยด์ได้มาจาก[[กรดอะมิโน]] โดยทั่วไปแอลคาลอยด์จะมีคุณสมบัติเป็นเบส แต่จะมากหรือน้อยขึ้นกับจำนวนของไนโตรเจน บางชนิดเป็นกลาง<ref name="goldbook.iupac.org">[http://goldbook.iupac.org/A00220.html IUPAC. Compendium of Chemical Terminology], 2nd ed. (The "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997) ISBN 0-9678550-9-8 {{doi|10.1351/goldbook}}</ref>หรือเป็นกรดอ่อน<ref>R. H. F. Manske. ''The Alkaloids. Chemistry and Physiology''. Volume VIII. – New York: [[Academic Press]], 1965, p. 673</ref> มักมีฤทธิ์ทางยา ในธรรมชาติจะพบแอลคาลอยด์มากในพืชชั้นสูง ตามส่วนต่าง ๆ ของพืชเช่น ใบ ดอก ผล เมล็ด รากและเปลือก พบน้อยในพืชชั้นต่าต่ำ สัตว์ และจุลินทรีย์
 
แบ่งแอลคาลอยด์ตามโครงสร้างทางเคมี ได้เป็น