ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป้อมฮวาซ็อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
UserNaimmy (คุย | ส่วนร่วม)
→‎บักดงจ็อกแด: เพิ่มรูป
UserNaimmy (คุย | ส่วนร่วม)
อ้างอิงส่วนที่ 1
บรรทัด 18:
 
==ประวัติการก่อสร้าง==
ป้อมฮวาซ็องสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1794 ถึง 1796 ด้วยพระราชดำริของพระเจ้าช็องโจที่จะย้ายเมืองหลวงจากฮันยัง (กรุงโซลในปัจจุบัน) มายังเมืองซูว็อน จึงโปรดให้ [[ช็อง ยัก-ย็อง]] ขุนนางผู้นำกลุ่มปฏิรูปชิลฮัก ทำการออกแบบป้อมปราการเป็นกำแพงเมือง โอบล้อมตัวเมืองซูว็อนขึ้น<ref>UNESCO</ref><ref>Roh, 2001, p.186</ref>
 
การก่อสร้างป้อมฮวาซ็องนี้ ได้มีการใช้ระบบการจ้างแรงงานก่อสร้างแทนการเกณฑ์แรงงานอย่างที่เคยใช้เป็นครั้งแรกในเกาหลี รวมถึงมีการใช้วัสดุที่ทันสมัยในสมัยนั้นอย่าง อิฐดินเผา หินแกรนิต เป็นต้น ทั้งยังมีการสร้างหอรบและปราการชนิดต่าง ๆ เพื่อใช้ปกป้องเมืองอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนในเกาหลีอีกด้วย โดยราชสำนักโชซอนใช้งบประมาณทั้งสิ้นกว่า 870873,517 นยัง<ref>Roh, 2001, p.200</ref> แบ่งเป็นค่าวัสดุก่อสร้างประมาณ 320,000 นยัง<ref>Roh, 2001, p.200</ref> และค่าจ้างประมาณ 280,000 นยัง<ref> Roh, 2001, p.200</ref> และข้าวสารกว่า 1,500 กระสอบ<ref>Doo, 2010,p. 15</ref>เป็นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง
 
ทั้งยังให้มีการเขียนบันทึกการสร้างป้อมอย่างละเอียด ลงรายละเอียดถึงวัสดุก่อสร้าง จำนวน แรงงาน จนถึงแผนผังและขนาดสัดส่วนต่าง ๆ ชื่อว่า ''Hwaseong Seongyeok Uigwe'' เผยแพร่ในปี 1801<ref> Doo, 2010, p.30</ref>
 
==โครงสร้างป้อมปราการ==
เส้น 38 ⟶ 40:
 
===ป้อมปืน===
ป้อมปืน (포루) เขียนด้วยอักษรฮันจาได้ว่า 砲樓 เป็นป้อมก่ออิฐยื่นออกจากกำแพง มีความสูง 3 ชั้นจากพื้นดิน สร้างขึ้นเพื่อใช้ยิงปืนสกัดข้าศึกที่โจมตีกำแพง ด้านบนมีหลังคาไม้ หร้อมหน้าต่างเจาะช่องธนูปิดระหว่างใบเสมาสอ โดยป้อมปืนจะใช้อักษรฮันกึลแบบเดียวกับแท่นรักษาการณ์ (포루)
 
===แท่นรักษาการณ์===
เส้น 134 ⟶ 136:
[[ไฟล์:서노대 (2).JPG|thumb|right|แท่นธนูซอโนแด]]
===แท่นธนูซอโนแด===
'''ซอโนแด (서노대)''' เป็นหอแท่นธนูทิศตะวันตก เป็นแท่นยกสูงรูปแปดเหลี่ยมสร้างด้วยอิฐสีดำ เพื่อให้พลธนูใช้ยิงข้าศึกและสังเกตการณ์รอบบริเวณทิศตะวันตกของเมือง<ref>Roh, 2001, p.188</ref> โดยแท่นนี้ตั้งอยู่ริมกำแพงติดกับศาลาบัญชาการซอจังแด (서장대)
 
{{Clear}}
เส้น 250 ⟶ 252:
[[ไฟล์:Dongjangdae, Suwon Hwaseong.jpg|thumb|right|ศาลาบัญชาการดงจังแด]]
===ศาลาบัญชาการดงจังแด===
'''ดงจังแด (동장대)''' เป็นศาลาบัญชาการฝั่งตะวันออก มีลักษณะเป็นศาลาไม้ชั้นเดียว เดิมติดตั้งประตู-หน้าต่าง รอบบริเวณมีรั้วล้อม พื้นที่ภายในรั้วแบ่งเป็น 3 ชั้น โดยมีศาลาดงจังแดตั้งอยู่ชั้นบนสุด ชั้นล่างใช้เป็นที่ฝึกทหารและมีโรงพักทหาร เป็น 1 ใน 2 ที่ประจำการของแม่ทัพในป้อมฮวาซอง รวมถึงเป็นที่ซึ่งพระเจ้าจองโจใช้เสด็จทอดพระเนตรการฝึกทหารอีกด้วย<ref>Roh, 2001, p.202</ref>
 
{{Clear}}
เส้น 262 ⟶ 264:
[[ไฟล์:Dongbuknodae2.JPG|thumb|right|แท่นธนูดงบักโนแด]]
===แท่นธนูดงบักโนแด===
'''ดงบักโนแด (동북노대)''' เป็นแท่นยิงธนูฝั่งตะวันออก สร้างยกสูงกว่ากำแพงด้วยอิฐสีดำยื่นออกจากตัวกำแพงเป็นรูปเหลี่ยมมุมโค้ง บนแท่นมีใบสอสูงเจาะช่องยิงสำหรับบังการโจมตีจากข้าศึก <ref>Roh, 2001, p.188</ref> สร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนการป้องกันประตูชางรยองมุนร่วมกับดงบักกงซิมด็อน
 
{{Clear}}
เส้น 343 ⟶ 345:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==บรรณานุกรม==
 
* Doo Won Cho (2010). The Korean fortress City Suwon: History; Conservation Heritage; Documentation "Hwaseong Seongyeok Uigwe"; National and International Relations (in German). University of Bamberg, Inaugural Dissertation.
 
* UNESCO, “Hwaseong Fortress”,''เข้าถึงเมื่อ'' 2020-05-17. https://whc.unesco.org/en/list/817/
* Young Koo Roh. ''The Construction and Characteristics of Hwaseong Fortress in the Era of King Jeongjo'', 한국학중앙연구원 THE ACADEMY OF KOREAN STUDIES, 2001, 41(1), p.166-212.
 
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|37.288611|127.014167}}