ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานหัวหิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Qqjdwqu7 (คุย | ส่วนร่วม)
Bebiezaza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| lat_deg = 12|lat_min=37|lat_sec=49|lat_dir=N
| lon_deg = 99|lon_min=57|lon_sec=12|lon_dir=E
}}<small>ตำแหน่งของสนามบินท่าอากาศยานในประเทศไทย</small></center>
 
| type = สาธารณะ (ศุลกากร)
| owner =
| operator = กรมการบินพลเรือน[[กรมท่าอากาศยาน]]
| city-served =
| location = ตำบลหัวหิน [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]
| elevation-f = 62
| elevation-m = 19
| website = https://minisite.airports.go.th/huahin
| metric-rwy = y
| r1-number = 16/34
บรรทัด 31:
| stat2-header = เที่ยวบิน
| stat2-data = 613
| footnotes = httpsแหล่งข้อมูล: http://minisitewww.airports.go.th/huahin
}}
 
'''ท่าอากาศยานหัวหิน''' หรือเดิมคือ สนามบินบ่อฝ้าย ({{lang-en|Huahin Airport}}) {{airport codes|HHQ|VTPH}} ตั้งอยู่ในเขต ตำบลบ่อฝ้าย [[อำเภอหัวหิน|อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] มีอาคารผู้โดยสารขนาดซึ่งเป็นท่าอากาศยานในสังกัด[[กรมท่าอากาศยาน]] 7,200[[กระทรวงคมนาคม ตารางเมตร(ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]]<ref>[https://minisite.airports.go.th/ ท่าอากาศยานสังกัดกรมท่าอากาศยาน]</ref> และพื้นที่ลานจอดเครื่องบินขนาดได้ประกาศท่าอากาศยานศุลกากรเมื่อวันที่ 31,0005 ตารางเมตรมีนาคม สามารถรองรับผู้โดยสารได้พ.ศ. 2402542<ref>[https://www.airports.go.th/th/profile/331.html คนต่อชั่วโมงรายชื่อท่าอากาศยานศุลกากรของกรมท่าอากาศยาน]</ref> นอกจากนี้ท่าอากาศยานหัวหินยังเป็นที่ตั้งของศูนย์ฝึกการบิน [[สถาบันการบินพลเรือน]] และ ศูนย์ฝนหลวงหัวหิน ซึ่งดูแลพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
 
หัวทางวิ่งของท่าอากาศยานหัวหินด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือจะอยู่คร่อมทางรถไฟสายใต้ และ[[ถนนเพชรเกษม]] ซึ่งอยู่ในเขต[[อำเภอชะอำ]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] ผู้ใช้เส้นทางเข้าตัวเมืองหัวหินจะต้องขับรถลอดผ่านอุโมงค์ใต้ทางวิ่งไป
 
== ประวัติ ==
'''ท่าอากาศยานหัวหิน'''แต่เดิมมีชื่อว่า '''สนามบินบ่อฝ้าย''' ยังไม่มีการใช้งานอย่างเป็นทางการ เนื่องจากแต่เดิมมีเพียงเครื่องบินที่ใช้ในการทหารเท่านั้น ซึ่งมีทหารกองทัพอากาศเพียงสังกัดหน่วยงานเดียวที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเดินหรือการขนส่งทางอากาศ ทางกองทัพอากาศได้มีการสำรวจพื้นที่ซึ่งเป็นของทางราชการ และมีการปรับปรุงให้สามารถใช้ประโยชน์กับพื้นที่นั้น ๆนั้นๆ จึงได้มีการย้ายสนามบินของกองทัพอากาศ จากที่เดิม '''สนามบินหนองบ้วย''' [[อำเภอท่ายาง]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] เนื่องจากพื้นที่ของ'''สนามบินหนองบ้วย'''นั้นไม่สามารถขยายให้เครื่องบินที่มีขนาดใหญ่ขึ้น-ลง ได้ มาใช้พื้นที่ ที่ได้มีการปรับปรุงไว้เรียบร้อยแล้ว คือ สนามบินบ่อฝ้าย ตำบลบ่อฝ้าย [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] พื้นที่ตั้งปัจจุบัน ที่ได้มีการปรับปรุงไว้เรียบร้อยแล้ว ซึ่งในระยะแรกเป็นการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สนามบินเพื่อทางการทหารเท่านั้น
 
หลังจากนั้นในปี [[พ.ศ. 2498]] การขนส่งทางอากาศได้เป็นที่แพร่หลาย บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด ได้นำเครื่องบินแบบ DC-3 หรือ DAKOTA มาทำการบินขึ้น-ลง ณ สนามบินบ่อฝ้าย เฉพาะฤดูตากอากาศเท่านั้น โดยมีกองทัพอากาศคอยควบคุมดูแล และในวันที่ [[3 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2504]] ได้มีการเปลี่ยนชื่อเรียกของสนามบิน เป็นท่าอากาศยานหัวหิน โดยมีการส่งมอบพื้นที่ความรับผิดชอบจากของกองทัพอากาศ มาเป็นพื้นที่เขตความรับผิดชอบของกรมการบินพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม<ref>http://gold.rajabhat.edu/rLocal/print.php?story=02/04/09/7843296 </ref> หรือ[[กรมท่าอากาศยาน]] [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]]<ref>[https://minisite.aviation.go.th/ รายชื่อท่าอากาศยานของกรมการบินพลเรือน]</ref> ในปัจจุบัน
 
ในปี พ.ศ. 2561 สายการบินแอร์เอเซียมาเลเซีย(AK) ได้ดำเนินการเปิดเส้นทางบินตรงแบบประจำ ระหว่างท่าอากาศยานหัวหินไปกลับ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์<ref>[http://www.ryt9.com/s/iq05/2681850 เตรียมเปิดเส้นทางบินใหม่ หัวหิน-มาเลเซีย]</ref>โดยทำการบินด้วยเครื่องบินแบบ [[แอร์บัส เอ320]] ส่งผลให้ท่าอากาศยานหัวหินกลับมามีสายการบินพาณิชย์เปิดให้บริการอีกครั้ง หลังจากสายการบินกานต์แอร์มีปัญหาเกี่ยวกับใบอนุญาตในการทำการบินไปก่อนหน้านี้ ซึ่งนับว่าเป็นท่าอากาศยานแห่งที่ 11 ของประเทศไทย ที่ให้บริการรองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ
 
มีอาคารผู้โดยสารขนาด 7,200 ตารางเมตร และพื้นที่ลานจอดเครื่องบินขนาด 31,000 ตารางเมตร สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 240 คนต่อชั่วโมง
 
== สายการบินที่ให้บริการในปัจจุบัน ==