ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลมาปากขวด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุวรรณรักษ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
 
บรรทัด 12:
| infraordo = [[Cetacea]]
| image2 = Dolphins gesture language.jpg
| image2_caption =[[โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก]] (''T. aduncus'') จะเ้ห็นเห็นว่ามีความแตกต่างจากโลมาปากขวดธรรมดา ตรงที่มีข้างลำตัวและด้านท้องมีจุดสีเทาเข้มขึ้นประปราย
| familia = [[Delphinidae]]
| genus = '''''Tursiops'''''
บรรทัด 33:
<ref>Möller Luciana M., Beheregaray Luciano B. 2001. Coastal bottlenose dolphins from southeastern Australia are ''Tursiops aduncus'' according to sequences of the mitochondrial DNA control region. Marine Mammal Science 17(2): 249-263.</ref> โดยมีความแตกต่างกันอยู่ที่ถิ่นที่อยู่อาศัย เนื่องจากโลมาปากขวดธรรมดาจะพบในมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งเป็นพื้นที่ ๆ มีอากาศหนาวเย็น แต่โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก พบในพื้นที่ ๆ เป็นอากาศอบอุ่นและพื้นที่เขตร้อน เช่น ในประเทศไทย เป็นต้น และมีความแตกต่างกันที่สภาพกายภาพภายนอก กล่าวคือ โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก มีจุดสีเทาเข้มประปรายตามลำตัวด้านข้างและด้านท้อง และมีขนาดลำตัวเล็กกว่าโลมาปากขวดธรรมดา<ref name="cite">{{cite web|url=http://www.dmcr.go.th/marinecenter/mesonyx/mesonyx-Bottlenose.php|title=โลมาปากขวด|date=16 February 2014|accessdate=16 February 2014|publisher=dmcr}}</ref>
 
จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2011 นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลียได้ประกาศว่ามีโลมาปากขวดชนิดใหม่ คือ [[โลมาปากขวดบูร์รูนาน]] (''T. australis'') โดยพบประมาณ 150 ตัวว่ายน้ำอย่างเริงร่าบริเวณท่าเรืออ่าวฟิลลิป และทะเลสาบกิปป์สแลนด์ บริเวณชายฝั่งเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในตอนแรกคิดว่าเป็นโลมาปากขวดสองชนิดแรกที่รู้จัก แต่ทว่าเมื่อได้ทำการศึกษาลงไป พบว่ามีความแตกต่างกันทางสรีระและกะโหลกศีรษะ รวมถึุงถึงความแตกต่างกันด้านดีเอ็นเอด้วย <ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/edu/202698|title=พบโลมาชนิดใหม่ว่ายวนใต้จมูกออสเตรเลีย|date=19 September 2011|accessdate=16 February 2014|publisher=ไทยรัฐ}}</ref>
 
== อ้างอิง ==