ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพิริยเทพวงษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 202:
* ในด้านการปกครอง ท่านได้ให้ความร่วมมือสนับสนุนรัฐบาลส่วนกลางในการแก้ไขปฏิรูปการปกครองจากระบบหัวเมืองประเทศราชมาเป็นแบบ[[มณฑลเทศาภิบาล]] ซึ่งนำมาใช้ในเมืองแพร่เมื่อปี [[พ.ศ. 2439]]
* ในด้านการศึกษา เจ้าพิริยเทพวงษ์ได้ให้การส่งเสริมการศึกษาตามนโยบายของรัฐบาลเพื่อสนองพระบรมราโชบายการจัดตั้งโรงเรียนหนังสือไทยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยเป็นผู้ริเริ่มสร้างโรงเรียนขึ้นและเปิดสอนเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 ได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณา ทรงทราบใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 มีพระราชหฤทัยยินดี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนนี้ว่า "โรงเรียนเทพวงษ์" ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 และปี พ.ศ. 2445 ได้รับการยกฐานะเป็นโรงเรียนสอนหนังสือไทยตัวอย่างตามพระบรมราโชบาย ของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 ที่ทรงให้จัดตั้งโรงเรียนตัวอย่างขึ้นตามหัวเมืองสำคัญต่างๆ ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 โดยมีชื่อว่า "โรงเรียนตัวอย่างเมืองแพร่ ภายหลังการเสด็จสวรรคตของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2454 พระยานิกรกิตติการ ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่คนที่ 4 ได้ย้ายโรงเรียนมาตั้งตรงข้าม[[คุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่)]]ในปัจจุบัน ซึ่งได้อาศัยที่ดินของ[[คุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่)]] โดยสร้างอาคารไม้สักและโรงเรียนขึ้นใหม่ มีวัตถุประสงค์จะสร้างเป็นพระบรมราชานุสรณ์แด่ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 ซึ่งได้รับความร่วมมือร่วมใจจากมหาชนชาวเมืองแพร่ทุกหมู่เหล่าเป็นอย่างดี มีพระยาบุรีรัตน์ [[คุ้มวงศ์บุรี]] กรมที่ปรึกษาโรงเรียนตัวอย่างเมืองแพร่ มอบไม้สัก 100 ท่อนในการสร้างอาคารไม้ขึ้น ในกาลต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "โรงเรียนพิริยาลัย" เมื่อวันพุธที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2456 เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่เจ้าพิริยเทพวงษ์และเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์แห่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]รัชกาลที่ 5 โดยได้รับพระราชทานอนุญาตให้ประดิษฐาน[[พระเกี้ยว]] พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5 ประดับไว้หน้ามุขอาคารไม้สัก และได้รับป้ายนามโรงเรียนที่มีข้อความว่า "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระบรมราชูปถัมภ์แก่โรงเรียนนี้" ปัจจุบันคือ [[โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่]] (ปัจจุบันอาคารไม้สักและที่ดินเดิมเป็นสถานที่ตั้ง[[โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่]] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479)
*ในด้านสาธารณะประโยชน์ เจ้าพิริยเทพวงษ์ได้ซ่อมถนนพร้อมทำสะพานข้ามห้วยและลำเหมือง จำนวน 24 แห่ง ทำ้วยทำวยไม้สักทุกๆสะพานเป็นถาวรแน่นหนามั่นคง ซึ่งได้รับพระราชทานชื่อสะพานจากรัชกาลที่ 5 ทั้ง 24 สะพาน
* ในด้านพระพุทธศาสนา เจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์ ได้บูรณะซ่อมแซมวัดวาอารามต่าง ๆ เช่น วัดหลวงหรือ [[วัดหลวงสมเด็จวัดพระนอนจุฑามาศ|วัดหลวงสมเด็จ วัดพระนอนจุฑามาศ]] [[วัดสวรรคนิเวศน์]] วัดมิ่งเมือง (ปัจจุบันคือ[[วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร]]) และปูชนียสถานที่สำคัญของบ้านเมืองคือ [[วัดพระธาตุช่อแฮ]] และเป็นผู้ขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้กับวัดศรีชุม ในปีพ.ศ. 2445