ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กชกร วรอาคม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aoowassana (คุย | ส่วนร่วม)
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
|birth_place = {{flag|ไทย}}
|alma_mater = {{bulleted list
| [[บัณฑิตวิทยาลัยการออกแบบ [[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]
| [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
}}
บรรทัด 30:
 
== ประวัติ ==
กชกรศึกษาที่[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] จากนั้นศึกษาที่[[ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ขณะศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ได้ไปฝึกงานที่อเมริกาและทำงานอยู่พักหนึ่ง และกลับมาศึกษาต่อจนจบด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง และได้ทุนไปศึกษาต่อที่[[บัณฑิตวิทยาลัยการออกแบบ [[มหาวิทยาลัยฮาวาร์ดฮาร์วาร์ด]] (GSD) ในด้านภูมิสถาปัตยกรรม จากการศึกษาที่นี่ทำให้ค้นพบว่าถนัดการออกแบบพื้นที่สาธารณะ กลับมาเป็นภูมิสถาปนิก ตั้งบริษัท Landprocess<ref name="bangkokbiznews">{{cite news|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/652959|title=กชกร วรอาคม บอกรัก...ด้วยงานศิลป์|work=กรุงเทพธุรกิจ|date=23 มิถุนายน 2558|author=เพ็ญลักษณ์ ภักดีเจริญ|access-date=6 สิงหาคม 2562}}</ref> ได้ออกแบบโครงการในลักษณะเชิงผสมผสาน Greenovative Design<ref>{{cite news|url=https://www.posttoday.com/ent/celeb/498084|title=กชกร วรอาคม ด้วยรักในฐานะภูมิสถาปนิก|work=โพสต์ทูเดย์|date=8 มิถุนายน 2560|access-date=6 สิงหาคม 2562}}</ref> อย่างงาน Siam Green Sky, โครงการบูรณะพัฒนาอาคารพาณิชย์บริเวณหมอน 47 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมของสยามสแควร์วัน ที่ได้นำแนวคิดพื้นที่สีเขียวมาบริหารจัดการในส่วนต่าง ๆ ภายในและภายนอกอาคาร เธอยังออกแบบสระว่ายน้ำสำหรับผู้พิการทางสายตา มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ สระแห่งนี้ใช้เป็นสระสำหรับให้นักกีฬา[[พาราลิมปิก]]และผู้พิการทางสายตาได้มีโอกาสมาฝึกซ้อมและออกกำลังกาย<ref>{{cite news|url=https://www.artbangkok.com/?p=12836|title=กชกร วรอาคม|work=ArtBangkok|date=13 กุมภาพันธ์ 2556|access-date=24 ธันวาคม 2562}}</ref>
 
ต่อมาออกแบบ[[อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] สวนสาธารณะเนื้อที่ 28 ไร่ ออกแบบให้เป็นพื้นที่หน่วงน้ำของเมือง ซึ่งได้รับคัดเลือกโดย[[สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]ให้เป็นผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมดีเด่น (ASA AD Award) ในปี พ.ศ. 2561<ref>The Association of Siamese Architects. (2018). ''ASA ARCHITECTURAL DESIGN AWARDS 2018 | The Association of Siamese Architects''. [online] Available at: http://asa.or.th/news/asa-architectural-design-awards-2018/ [Accessed 2 May 2018].</ref> ถือเป็นครั้งแรกที่รางวัลด้านสถาปัตยกรรมให้รางวัลกับสวนสาธารณะ<ref name="thaitribune">{{cite news|url=http://www.thaitribune.org/contents/detail/378?content_id=35634&rand=1559591350|title=น่าฟัง! ดร.กชกร วรอาคม ภูมิสถาปนิกหญิงกับการเปลี่ยนเมืองที่กำลังจมเป็นภูมิสถาปัตยกรรมที่พร้อมสู้น้ำท่วมได้|date=3 มิถุนายน 2562|access-date=6 สิงหาคม 2562}}</ref> ผลงานต่อมาออกแบบ[[อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี]] มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ออกแบบเพื่อให้เป็นห้องเรียนกลางแจ้ง เพื่อศึกษาเรียนรู้เรื่อง[[ประชาธิปไตย]] และเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำเช่นเดียวกับที่อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>{{cite news|url=http://puey-ungpakorn.org/index.php/activities/place?layout=edit&id=503|title=อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี|access-date=6 สิงหาคม 2562}}</ref> ออกแบบเชื่อมโยงการระบายน้ำกับผังแม่บทของมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นส่วนหนึ่งกับตัวมหาวิทยาลัยและเมือง<ref>{{cite web|url=https://readthecloud.co/publicspace-4/|title=อุทยานเรียนรู้ป๋วย 100 ปี : สวนใหม่ล่าสุดของธรรมศาสตร์ที่มีอาคารเรียนใต้เนินดินและพื้นที่สีเขียวสำหรับทุกคน|work=เดอะคลาวด์|author=ธารริน อดุลยานนท์|date=7 กันยายน 2560|access-date=12 ธันวาคม 2562}}</ref> อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี เป็นแปลงเกษตรในเมืองบน[[หลังคาเขียว]]ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย<ref>{{cite web|url=https://readthecloud.co/puey-park-thammasat/|title=อุทยานเรียนรู้ป๋วย 100 ปี สวนแห่งใหม่ของธรรมศาสตร์ที่เป็น Green Roof Urban Farm ใหญ่สุดในเอเชีย|work=เดอะคลาวด์|author=มิ่งขวัญ รัตนคช|date=7 ธันวาคม 2562|access-date=12 ธันวาคม 2562}}</ref> และสวนสาธารณะลอยฟ้าที่ใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย และใหญ่เป็นอันดับสองของโลกรองจากที่สหรัฐ<ref>{{cite news|url=https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9620000120184|title=เนรมิต!! สวนผักออร์แกนิกลอยฟ้าใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ณ อาคารอุทยานเรียนรู้ ป๋วย 100 ปี|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=17 ธันวาคม 2562|access-date=24 ธันวาคม 2562}}</ref>
บรรทัด 66:
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากบัณฑิตวิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]
[[หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:ภูมิสถาปนิก]]