ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8447254 สร้างโดย 103.1.31.132 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 40:
การศึกษาด้านรัฐศาสตร์ของไทยเริ่มต้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระราชดำริจัดตั้ง โรงเรียนฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน เพื่อรับคัดเลือกนักเรียนเข้ามาฝึกหัดเป็นข้าราชการตามกระทรวงต่าง ๆ (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์หรือ รปศ.) ต่อมาได้มีการขยายการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพัฒนาโรงเรียนดังกล่าวเป็น โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
จากเหตุดังกล่าวนี้ การศึกษารัฐศาสตร์จึงเริ่มต้นขึ้น โดยคณะรัฐศาสตร์แห่งแรก คือ [[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
จากเหตุดังกล่าวนี้ การศึกษารัฐศาสตร์จึงเริ่มต้นขึ้น โดยคณะรัฐศาสตร์แห่งแรก คือ [[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] แห่งที่สอง คือ [[คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และแห่งที่สาม คือ [[ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] สำหรับ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] เปิดสอนในระดับปริญญาโทและเอก หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต ในคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ต่อมาได้มีมาเปิดคณะรัฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเอกชน เช่น [http://cc.cnu.ac.th:8085/Pages/Recruit/FormV2/RecruitPage1.aspx?ReqSession=1&ReferID=6610900002 มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา] ซึ่งเปิดได้ 6 วิทยาเขตด้วยกัน ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ เพชรบูรณ์ นครศรีธรรมราช โดยเปิดสอนการปกครองส่วนท้องถิ่น [http://cc.cnu.ac.th:8085/Pages/Recruit/FormV2/RecruitPage1.aspx?ReqSession=1&ReferID=6610900002 สมัครออนไลน์] หรือ ติดต่อสอบถามได้ที่เบอร์ ๐๙๕-๗๔๙๕๙๑๖
 
ข้อสังเกตคือในยุคเริ่มแรกนั้นรัฐศาสตร์ไทยนั้นเน้นผลิตบัณฑิตเข้าสู่วงราชการ โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย ซึ่งต่อมาจึงเป็นที่มาของการใช้ตราสิงห์เป็นสัญลักษณ์ของสาขาวิชา{{อ้างอิง}} และอีกส่วนหนึ่งคือการเรียนการสอนรัฐศาสตร์ไทยในยุคแรก อันที่จริงเป็นการเรียนการสอนวิชารัฐประศาสนศาสตร์เพื่อสร้างข้าราชการป้อนให้กับรัฐไทย หรือก็คือสอนวิชาบริหารจัดการสาธารณะภายได้ชื่อรัฐศาสตร์ทำให้ในเวลาต่อมาเกิดความสับสนในวงวิชาการว่ารัฐศาสตร์กับรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร อย่างไรก็ตามในสังคมไทยมีการศึกษารัฐศาสตร์กระแสหนึ่งซึ่งเริ่มมีอิทธิพลขึ้นมากหลัง พ.ศ. 2526 เรียกว่ารัฐศาสตร์ทวนกระแส<ref>ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. การเมืองมนุษย์ : รัฐศาสตร์ทวนกระแส. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2528</ref> ซึ่งโดยภาพรวมก็ไม่ต่างแนวหลังพฤติกรรมศาสตร์ในตะวันตก [http://www.สังขละบุรี.com อ่านเพิ่มเติม]