ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bebiezaza (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มสถิติใหม่ พร้อมความเปลี่ยนแปลง ฯลฯ
Bebiezaza (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ประวัติ +ปรับแก้ +เนื้อหา +อ้างอิง +เก็บกวาด
บรรทัด 43:
ท่าอากาศยานอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการบินของภาคอีสานตอนบน ตั้งอยู่ใกล้เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่าง [[จ.หนองคาย]] และนครหลวง[[เวียงจันทน์]] [[สปป.ลาว]] เพียง 50 กิโลเมตร ท่าอากาศยานอุดรธานี จึงเป็นส่วนสำคัญของยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน
 
== ประวัติ ==
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กรมท่าอากาศยานได้ประกาศแผนการมอบสิทธิ์การบริหารท่าอากาศยานอุดรธานีให้ บมจ. [[ท่าอากาศยานไทย]] เช่นเดียวกับท่าอากาศยานตาก (ภายหลังได้เพิ่ม[[ท่าอากาศยานชุมพร]] และ[[ท่าอากาศยานสกลนคร]] เข้ามาด้วย) โดยจะนำเสนอให้[[กระทรวงคมนาคม]]พิจารณาเห็นชอบ แต่ทางหน่วยงานยังไม่อนุมัติในทันที โดยให้[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) รวบรวมข้อมูลจากทั้งของกรมท่าอากาศยาน, บมจ. ท่าอากาศยานไทย และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ไปศึกษาวิเคราะห์ถึงผลดีและผลเสียก่อน
พ.ศ.2466 ท่าอากาศยานอุดรธานีเปิดบริการเป็นครั้งแรกอยู่ภายในตัวเมืองอุดรธานี หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2475 ได้ย้ายท่าอากาศยานย้ายมาสร้างใหม่ที่ตำบลหนองขอนกว้าง (บริเวณที่ตั้งกองบิน 23 ในปัจจุบัน) โดยมีทางวิ่งเป็นทางลูกรังยาวประมาณ 500 เมตร และในปี พ.ศ.2500 ท่าอากาศยานอุดรธานีได้สร้างทางวิ่งใหม่เป็นคอนกรีตยาว 3,048 เมตร กว้าง 38 เมตร โดยความร่วมมือระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกา
 
พ.ศ.2533 กรมการบินพลเรือน ([[กรมท่าอากาศยาน]]ในปัจจุบัน) ได้ซื้อที่ดิน 400 ไร่ ที่ตำบลนาดี ถนนอุดร-เลย สร้างอาคารที่พักผู้โดยสารและหอบังคับการบิน พร้อมลานจอดเครื่องบิน สามารถจอดเครื่องบิน[[แอร์บัส เอ320]]ได้ 2 ลำ จากนั้นในปี พ.ศ.2543-2545 กรมการบินพลเรือน (กรมท่าอากาศยานในปัจจุบัน) ได้ขยายทางวิ่งจากความกว้าง 38 เมตร เป็น 45 เมตร รวมทั้งลานจอด พื้นที่ 47,250 ตารางเมตร สามารถจอดเครื่องบินแบบ Airbus ได้ 3 ลำ และ Boeing 737 ได้ 2 ลำ พร้อมกัน
ในวันที่ 25 เมษายน 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) บมจ. ท่าอากาศยานไทย มีมติเห็นชอบรับโอนท่าอากาศยานอุดรธานี และท่าอากาศยานอีก 3 แห่ง ดังกล่าว จากกรมท่าอากาศยานมาบริหาร เพื่อรองรับการเติบโตของนักท่องเที่ยวในระยะยาว คาดจะใช้งบลงทุนกว่า 1 หมื่นล้านบาท และกรมท่าอากาศยานได้รวบรวมข้อมูลและเสนอเรื่องไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมแล้วในเดือนมิถุนายนปีเดียวกัน[10] เพื่อที่จะได้เสนอต่อไปยังคณะรัฐมนตรีต่อไป คาดว่าจะดำเนินการได้เรียบร้อยและ ทอท. เข้าบริหารท่าอากาศยานทั้ง 4 แห่งได้ ภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 ในส่วนของแผนการบริหารท่าอากาศยานอุดรธานี โดย ทอท. จะลงทุนโดยแบ่งเป็นงานวิศวะก่อสร้างเชิงกายภาพ งานจ้างบุคลากรและจัดซื้ออุปกรณ์ความปลอดภัยให้ได้มาตรฐานทางการบินสากล เช่น CAT8 และ CAT9 ใช้เงินลงทุน 4,000-5,000 ล้านบาท เพื่อขยายอาคารที่พักผู้โดยสารมีเป้าหมายเคลื่อนย้ายเที่ยวบินยุโรป-ภาคอีสาน ยังท่าอากาศยานอุดรธานีเพื่อส่งเสริมการเพมสล็อตเที่ยวบินของท่าอากาศยานหลักอย่างดอนเมืองและสุวรรณภูมิ ซึ่งคาดว่าส่งผลให้รายได้ของ ทอท. เพิ่มขึ้นอย่างมากจากการขยายสล็อตได้มากกว่า 1,000 เที่ยวบิน หลังเปิดบริการท่าอากาศยานอุดรธานี<ref>https://www.posttoday.com/economy/556549f</ref>
 
ในปี พ.ศ.2546-2548 ได้ก่อสร้างอาคารใหม่ (อาคารผู้โดยสาร A) พร้อมติดตั้งสะพานเทียบเครื่องบิน 1 สะพาน และปรับปรุงทางวิ่งและทางขับ และในปีพ.ศ.2556-2558 ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานีได้ปรับปรุงอาคารที่พักผู้โดยสารหลังเดิมให้เป็นอาคารที่พักผู้โดยสารระหว่างประเทศ (อาคารผู้โดยสาร B) พร้อมติดตั้งสะพานเทียบเครื่องบินอีก 1 สะพาน<ref>[https://minisite.airports.go.th/udonthani/about2567.html ประวัติความเป็นมา ท่าอากาศยานอุดรธานี]</ref>
อย่างไรก็ตามภายหลังจากที่มีรัฐบาลชุดใหม่ในปี พ.ศ. 2562 กรมท่าอากาศยาน และกระทรวงคมนาคมซึ่งมีนาย[[ศักดิ์สยาม ชิดชอบ]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ได้เปลี่ยนแปลงแผนการ โดยจะให้ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เข้าบริหารท่าอากาศยานอุดรธานี (กับท่าอากาศยานตาก และ[[ท่าอากาศยานบุรีรัมย์]]) ในลักษณะการบริหารสัญญาร่วม หรือการจ้าง บมจ. ท่าอากาศยานไทย บริหารจัดการ โดยไม่ต้องมีการประมูล และกรมท่าอากาศยานยังคงความเป็นเจ้าของท่าอากาศยานอุดรธานี<ref>{{cite web|url=https://www.thansettakij.com/content/409033|title= เบื้องลึกเด้งอธิบดีทย. เซ่นการเมืองขวางทอท.ฮุบสนามบิน|work=ฐานเศรษฐกิจ|date=8 กันยายน 2562|accessdate=26 กันยายน 2562|}}</ref>
 
== อาคารสถานที่ ==
*ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานีและกองบิน 23 มีพื้นที่ท่าอากาศยาน รวมกันจำนวน 2,000 ไร่
 
=== อาคารผู้โดยสาร ===
ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานีมีอาคารผู้โดยสารทั้งหมด 2 อาคาร คือ อาคาร A และอาคาร B '''เชื่อมกัน''' มีพื้นที่อาคารรวมกัน 19,200 ตารางเมตร รองรับผู้โดยสารได้ 1,200 คน/ชั่วโมง หรือประมาณ 3,460,000 คน/ปี และมีพื้นที่ลานจอดท่าอากาศยาน 135x600 เมตร รองรับ B737 ได้ จำนวน 11 ลำ
* ลาดจอดท่าอากาศยาน 135x600 เมตร รองรับ B737 ได้ จำนวน 11 ล่ำ
 
* รองรับผู้โดยสารได้ จำนวน 1,200 คน ต่อ ชั่วโมง หรือ 3.46 ล้านคนต่อปี
*==== อาคารที่พักผู้โดยสาร 19,200A ตารางเมตร====
====[[File:UDT-Waiting room.JPG|thumb|right|ห้องพักผู้โดยสารขาออก อาคารผู้โดยสาร A (Domestic Terminal) GATE 1-2-3 ====]]
พื้นที่เช็คอินและตรวจบัตรโดยสารอยู่บริเวณประตู 1 โดยมีสายการบิน[[ไทยสมายล์]] [[นกแอร์]] และ[[ไทยเวียตเจ็ท]]ทำการบินออกจากอาคาร A เส้นทางในประเทศทั้งหมด
ตรวจบัตรโดยสาร ประตู 1
 
* สายการบินไทยสมายล์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)
อาคารผู้โดยสาร A มีทางออกขึ้นเครื่องทั้งหมด 3 ประตู คือประตู 1, 2 และ 3 โดยประตู 3 เป็นประตูของเส้นทางการบินระหว่างประเทศ
* สายการบินนกแอร์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานดอนเมือง, เชียงใหม่)
*สายการบินไทยเวียตเจ็ทแอร์ (กรุงเทพมหานคร-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, เชียงราย)
 
==== อาคารผู้โดยสาร B (Domestic, CIQ, International Termainal) GATE 4-5 ====
พื้นที่เช็คอินและตรวจบัตรโดยสารอยู่บริเวณประตู 6 โดยมีสายการบิน[[ไทยแอร์เอเชีย]] [[ไทยไลอ้อนแอร์]] ทำการบินออกจากอาคาร B เส้นทางในประเทศ และ[[ไทยเวียตเจ็ท]]ในเส้นทางระหว่างประเทศ
 
อาคารผู้โดยสาร B มีทางออกขึ้นเครื่องทั้งหมด 2 ประตู คือประตู 4 และ 5
ตรวจบัตรโดยสาร ประตู 6
* สายการบินไทยแอร์เอเชีย (กรุงเทพมหานคร - ท่าอากาศยานดอนเมือง, ภูเก็ต, ระยอง - ท่าอากาศยานอู่ตะเภา)
* สายการบินไทยไลอ้อนแอร์ (กรุงเทพมหานคร - ท่าอากาศยานดอนเมือง, สงขลา - ท่าอากาศยานหาดใหญ่)
*สายการบินไทยเวียตเจ็ทแอร์ (นครโฮจิมินห์ - ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต)
 
=== ทางวิ่ง (รันเวย์) ===