ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรณีกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
XxxFranKProxxX (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wittawin Panta (คุย | ส่วนร่วม)
ได้เพิ่มเติมข้อมูลมาตราธรณีกาล
บรรทัด 1:
'''ธรณีกาล ({{lang-en|Geologic Time}})''' ตามความหมายทาง[[ธรณีวิทยา]]นั้น เป็นชื่อเรียกของระยะช่วงเวลา ซึ่งได้แบ่งลงมาเป็น บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) สมัย (Epoch) และช่วงอายุ (Age) ตามลำดับจากหลักมาตรธรณีกาล
มาตราเวลาทางธรณีวิทยามาตรธรณีกาล (อังกฤษ: Geologic time scale, GTS) คือมาตรวัดที่ใช้โดยนักธรณีวิทยา หรือและนักวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เพื่ออธิบายเวลาที่จุดต่าง ๆ ในห้วงเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์โลก และอธิบายความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตของประวัติของโลก ตัวอย่างของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในด้วยการกำหนดมาตราเวลาจัดแบ่งทางธรณีวิทยา มี International Commission on Stratigraphy กำหนดชื่อของเวลาและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องจากชั้นหิน (stratigraphy) เป็นการซึ่งศึกษาธรณีวิทยาในเรื่องและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ชั้นต่าง ๆ ของโลก เช่น [[เปลือกโลก]]/ และ [[ผิวโลก]]และ แล้วประเมินความสอดคล้องกันของข้อมูลของแต่ละชั้นอื่น ๆ ใต้ผิวโลกลงซึ่งแตกต่างกันไป),ในแต่ละยุค USอาทิ Geologicalประเภทสิ่งมีชีวิต Surveyสารประกอบในชั้นหิน กำหนดสีมาตรฐานของเวลาในปัจจุบันนักธรณีวิทยาทั่วโลกนิยมใช้มาตรธรณีกาลฉบับสากลในการศึกษาวิจัยทางธรณีวิทยาที่ห้วงเวลาต่าง ๆ
 
มาตรธรณีกาลฉบับสากล จัดทำโดยคณะทำงานการลำดับชั้นหินสากล (International Commission on Stratigraphy) มีลักษณะเป็นรูปแบบตารางสีสันหลากหลาย ประกอบด้วยชื่อบรมยุค มหายุค ยุค และสมัย พร้อมตัวเลขอายุของเส้นแบ่งแต่ละยุคสมัยในหน่วยล้านปี (Ma) ซึ่งได้มาจากข้อมูลของชุดหินอ้างอิง (Global Stratotype Sections and Points หรือ GSSPs) กำหนดสีมาตรฐานของเวลาทางธรณีวิทยาที่ห้วงเวลาต่าง ๆ กัน
จากวิธีการหาเวลาในอดีตโดย[[การวัดการสลายของกัมมันตภาพรังสี]] (radiometric dating) พบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี<ref name="USGS1997">{{cite web| year=1997| title=Age of the Earth| url=http://pubs.usgs.gov/gip/geotime/age.html| publisher=U.S. Geological Survey| accessdate=2006-01-10}}</ref><ref name="USGS2001">{{cite web| year=2001| title=Radiometric Time Scale| url=http://pubs.usgs.gov/gip/geotime/radiometric.html| publisher=U.S. Geological Survey| accessdate=2006-01-10}}</ref>
 
==ศัพทวิทยา==