ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสาชิงช้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎การก่อสร้าง: อยากทำมากมากนะครับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
→‎การบูรณปฏิสังขรณ์: อยากทำมากเลยครับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 62:
กระทั่งวันที่ [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2539|2539]] มีการบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้งโดยสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้ใช้สายเหล็กรัดเป็นโครงเหล็กประกับ คล้ายลักษณะเข้าเฝือกไม้ยึดโครงสร้างหลัก
 
ล่าสุดเดือนกุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2548]] พบว่าเสาชิงช้ามีความชำรุดทรุดโทรมมาก ปรากฏรอยผุแตกเป็นร่องลึกตลอดแนวยาว โดยเฉพาะรอยต่อเสากลาง กทม. จึงได้ทำหนังสือขออนุญาต[[กรมศิลปากร]] เพื่อดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ด้วยการเปลี่ยนเป็นเสาใหม่ทั้งหมด เน้นการแก้ไขการผุกร่อนในระยะยาว เนื่องจากสาเหตุที่เสาชิงช้าผุกร่อนได้ง่ายนั้น เป็นเพราะเสาหลักทั้งสองต้นใช้ไม้ยาวท่อนละประมาณ 7เมตร ทำสลักเดือยต่อกันถึง 3 ท่อน ทำให้น้ำซึมเข้าในรอยต่อจนไม้ผุได้ง่าย ทางกทม. ตั้งเป้าไว้ว่าเสาชิงช้าใหม่ หากได้รับการดูแลบำรุงรักษาอย่างดีจะมีความมั่นคง แข็งแรงต่อไปได้ถึง 100 ปี เมื่อเทียบกับการบูรณะครั้งก่อนหน้าที่ทำให้เสาชิงช้ามีอายุการใช้งานเพียงมากกว่า 35 ปี สร้างเสาใหม่แล้วเสร็จในเมื่อวันที่6ตุลาคม2549 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จพระราชดำเนิน ทรงเป็นองค์ประธานในพิธีฉลองเสาชิงช้า ที่บริเวณลานคนเมือง ศาลาว่าการ กทม.เมื่อวันที่12กันยายน2550 บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
 
== ความสำคัญทางโบราณคดี ==