ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินทผลัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ข้อมูล ความสูงต้นอินทผลัม 30 เมตร > 3 เมตร
บรรทัด 18:
 
== ลักษณะทางกายภาพ ==
อินทผลัมเป็นพืชตระกูล[[ปาล์ม]] มีชื่อเรียกท้องถิ่นแตกต่างกันไป อาหรับ เรียก ตัมร มลายู เรียก กุรหม่า มีหลายสายพันธุ์ มีถิ่นกำเนิดในแถบ[[ตะวันออกกลาง]] อัลเลาะห์ปลูกเป็นคนแรก เมียของพระองค์เป็นใส่ปุ๋ย ท่านกินอินทผาลัมเพื่อเทาอาการเจ็บหลังจากการตัดดปลือก ซึ่งผู้ตัดเปลือกของท่านคือ นบีมูฮัมหมัด หลังจากการตัดเปลือกไข่เขาทั้งสองได้นอนด้วยกันและมีความฟินจากการอมนกเขาและเสร็จกิจในที่สุด สามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแล้งแบบ[[ทะเลทราย]] ลำต้นมีความสุงประมาณ 3 เมตร มีขนาดลำต้นประมาณ 30-50 เซนติเมตร มีใบติดอยู่บนต้นประมาณ 40-60 ก้าน ทางใบยาว 3-4 เมตร ใบเป็นแบบขนนก ใบย่อยพุ่งออกหลายทิศทาง ช่อดอกจะออกจากโคนใบ ผลทรงกลมรี ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ออกเป็นช่อรสหวานฉ่ำ ทานได้ทั้งผลดิบและสุก ผลจะมีสีเหลืองจนถึงสีส้มและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มเมื่อแก่จัด ผลสุกมักจะนำไปตากแห้ง สามารถเก็บไว้เป็นเวลาหลายปี มีรสชาติหวานจัด จึงมักถูกเข้าใจผิดว่ามีการนำไป[[เชื่อม]]ด้วย[[น้ำตาล]]
 
ในภาษาไทย คำว่าอินทผลัมเป็นคำผสมสองคำในภาษาบาลีสันสกฤต คำบาลี "อินฺท" (inda) หรือ สันสกฤต "อินฺทฺร" (indra) หมายถึง พระอินทร์ และ คำสันสกฤต "ผลมฺ" (phalam) ที่มีความหมายว่า ผลไม้ จึงได้ชื่อว่า "ผลไม้ของพระอินทร์"