ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลอโรฟิลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้ไขลิงก์เสียในส่วนอ้างอิง
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Chloroplasten.jpg|thumb|คลอโรฟิลล์พบได้ตาม[[คลอโรพลาสต์]]]]
 
'''คลอโรฟิลล์''' ({{lang-en|chlorophyll}}) เป็นสารประกอบที่พบได้ในส่วนที่มีสีเขียวของ[[พืช]] โดยพบมากที่ใบของพืชนอกจากนี้ยังพบได้ที่แบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ และยังพบได้ในสาหร่ายเกือบทุกชนิด นอกจากนี้คลอโรฟิลล์ทำหน้าที่เป็น[[โมเลกุล]]รับพลังงานจาก[[แสง]] และนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ในการสร้าง[[พลังงานเคมี]]โดยกระบวน[[การสังเคราะห์ด้วยแสง]] เพื่อสร้าง[[สารอินทรีย์]] เช่น น้ำตาล และนำไปใช้เพื่อการดำรงชีวิต <ref>วงษ์จันทร์ วงษ์แก้ว. 2535. หลักสรีรวิทยาของพืช. กรุงเทพฯ, ฟันนี่พับบลิชชิ่ง</ref> คลอโรฟิลล์ อยู่ในโครงสร้างที่เรียกว่า [[เยื่อหุ้มไทลาคอยล์คอยด์]] (thylakoid membrane) ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มที่อยู่ภายใน [[คลอโรพลาสต์]] (chloroplast)<ref name="ภาคภูมิ พระประเสริฐ">ภาคภูมิ พระประเสริฐ. ''สรีรวิทยาของพืช''. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์. 2550</ref>
 
== โครงสร้างทางเคมี ==
บรรทัด 9:
ในธรรมชาติมีคลอโรฟิลล์อยู่หลายชนิดด้วยกันซึ่งแต่ล่ะชนิดมีโครงสร้างหลักที่เหมือนกันคือ วงแหวนไพรอล 4 วง แต่โซ่ข้าง (side chain) ของคลอโรฟิลล์แต่ละชนิดจะมีลักษณะที่ต่างกันออกไป เช่น คลอโรฟิลล์ เอ (chlorophyll a) และคลอโรฟิลล์ บี (chlorophyll b) มีโครงสร้างโมเลกุลที่ต่างกันเพียงตำแหน่งเดียวเท่านั้น นั่นคือ ที่วงแหวนไพรอล วงที่สองของคลอโรฟิลล์ เอ มีโซ่ข้างเป็นหมู่เมททิล (-CH3) ส่วนของคลอโรฟิลล์ บี เป็นหมู่[[อัลดีไฮด์]] (-CHO) ซึ่งการที่โครงสร้างที่ต่างกันนี้ก็ทำให้มีคุณสมบัติแตกต่างกัน รวมทั้งคุณสมบัติการดูดกลืนแสงก็ต่างกันด้วย และทำให้คลอโรฟิลล์ทั้งสองชนิดนี้มีสีต่างกันเล็กน้อย โดยที่คลอโรฟิลล์ เอ มีสีเขียวเข้ม ส่วนคลอโรฟิลล์ บี มีสีเขียวอ่อน
 
ถ้าทำ paper chromatography ด้วยการไล่ระดับของรงควัตถุในใบไม้นั้น จะเรียงลำดับเม็ดสีที่ได้ โดยดูจากความมีขั้วน้อย-มาก ของเม็ดสีแต่ละชนิดได้ดังนี้<ref>(ควรระบุ stationary phase และ mobile phase ด้วยเพราะมีผลต่อการเคลื่อนที่ และระบุความมีขั้วของสาร</ref>) จะเรียงลำดับเม็ดสีที่ได้ โดยดูจากความมีขั้วน้อย-มาก ของเม็ดสีแต่ละชนิดได้ดังนี้
# Carotene - an orange pigment
# Xanthophyll - a yellow pigment
บรรทัด 16:
# Phaeophytin - a gray pigment
 
อธิบายได้ว่า Carotene มีขั้วน้อยที่สุด แล้วไล่ระดับความมีขั้วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนมากที่สุดที่ Phaeophytin <ref>เอกสารประกอบการสอนวิชา MIC101 General{{Cite Biology มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สอนโดย ดร.สุคนธ์ ตันติไพบูลย์วุฒิ [httpweb|url=https://chlorophyll1www.siamvipsimply.comscience/images/content/biology/cell_biology/photosynthesis/conceptmap/Photosynthetic_pigments.html ตัวอย่างทั่วไป]{{Dead|title=Photosynthetic pigments link|datework=MaySimply 2018Science |access-date=2020-05-12}}</ref>
 
ต่อไปนี้เป็นการเปรียบเทียบโครงสร้างของคลอโรฟิลล์แต่ละชนิด
บรรทัด 74:
| สาหร่ายหลายชนิด
| สาหร่ายหลายชนิด
| แบคทีเรียที่[[สังเคราะด้วยแสงสังเคราะห์แสง]]ได้ (Cyanobacteria)
|}
{|
บรรทัด 92:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{Authority control|NDL=00574346}}
 
[[หมวดหมู่:เซลล์พืช]]