ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุพรรณิการ์"

เพิ่มชื่อสามัญ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ระเบียงภาพ: เพิ่มส่วนดูเพิ่มและลิงค์เชื่อมบทความ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มชื่อสามัญ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 25:
[[ไฟล์:Supannika01.jpg|thumbnail|240px|ดอกสุพรรณิการ์แบบซ้อน]]
[[ไฟล์:Algodao-do-cerrado- no wm.jpg|thumbnail|240px|ดอกสุพรรณิการ์แบบชั้นเดียวในบราซิล]]
'''สุพรรณิการ์''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Cochlospermum regium}})<ref>ราชันย์ ภู่มา และสมราน สุดดี, บรรณาธิการ. ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557.'' กรุงเทพฯ : สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2557, หน้า 146.</ref> เป็น[[ไม้ผลัดใบ]]ที่มีถิ่นกำเนิดในแถบทุ่งหญ้าเขตร้อน[[แซราดู]] (Cerrado) ใน[[ทวีปอเมริกาใต้]] (บริเวณ[[ประเทศบราซิล]], [[โบลิเวีย]], [[ปารากวัย]])<ref name=sdafytasfgr4w67ghtyey>[http://apps.kew.org/wcsp/namedetail.do?name_id=44548 Kew World Checklist of Selected Plant Families]</ref> และมี (ชื่อสามัญ Yellow Silk Cotton, Butter-Cup (Single), Butter-Cup (Double),Torchwood) แต่ปัจจุบันพบได้ทั่วไปใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]เช่นกัน สุพรรณิการ์มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ใกล้เคียงกับ[[ฝ้ายคำ]]มาก ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งคือ ฝ้ายคำจะออกดอกเพียงชั้นเดียว มี 5 กลีบ และบานทีละดอก ในขณะที่สุพรรณิการ์จะมีทั้งชนิดที่ออกดอกชั้นเดียวและชนิดที่ออกดอกซ้อนกันเป็นกระจุกแน่น โดยบานพร้อม ๆ กัน<ref>มหาวิทยาลัยรามคำแหง. "สุพรรณิการ์ ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยรามคำแหง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.lib.ru.ac.th/about/supannikar.php [ม.ป.ป.]. สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2558.</ref>
 
ในประเทศไทยนิยมปลูกสุพรรณิการ์เป็น[[ไม้ประดับ]] โดยได้รับการกำหนดให้เป็น[[รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด|พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน]]ประจำ[[จังหวัดนครนายก]] และเป็น[[รายชื่อดอกไม้ประจำจังหวัดของไทย|ดอกไม้ประจำจังหวัด]]นครนายก [[จังหวัดสระบุรี|สระบุรี]] [[จังหวัดบุรีรัมย์|บุรีรัมย์]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี|สุพรรณบุรี]] และ[[จังหวัดอุทัยธานี|อุทัยธานี]]<ref>กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานจังหวัดบุรีรัมย์. "สัญลักษณ์ของจังหวัดบุรีรัมย์." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.buriram.go.th/bru/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=3 2551. สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2558.</ref><ref>กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานจังหวัดสุพรรณบุรี. "สัญลักษณ์จังหวัด." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.suphanburi.go.th/suphan/ProvinceSymbol.php [ม.ป.ป.]. สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2558.</ref><ref>กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานจังหวัดอุทัยธานี. "ดอกไม้ประจำจังหวัดอุทัยธานี." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.uthaithani.go.th/flowerUthai.htmlhttp://www.uthaithani.go.th/flowerUthai.html [ม.ป.ป.]. สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2558.</ref>
11,721

การแก้ไข