ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Hamish (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted 5 edits by 2001:44C8:45D2:178B:1:0:5C73:3F94 (talk) to last revision by Phyblas by Twinkle Global (SWMT)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|คำเรียกประเทศไทยในอดีต}}
.'''สยาม''' ([[อักษรละติน]]: Siam, [[อักษรเทวนาครี]]: श्याम) เป็นชื่อที่ต่างชาติใช้เรียก[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางของประเทศไทย]]ในอดีตและมักรวมถึงชาว[[ไทยสยาม]]ซึ่งเป็นชนชาติไทยในภูมิภาคนี้ แต่มิใช่ชื่อคนกลุ่มนี้เรียกตนเอง [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ </ref> สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา<ref name="ททท"/> ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน<ref>ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.</ref> อีกทั้ง ชื่อ ''สยาม'' นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย{{อ้างอิง}}
{{ดูเพิ่มที่|ไทย (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:Flag of Siam (1855).svg|thumb|ທຸງຊ້າງເຜືອກ ທຸງຊາດສະຫຍາມ ພ.ສ. 2398 - 31 ທັນວາ ພ.ສ. 2459|ธงชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459]]
.'''สยาม''' ([[อักษรละติน]]: Siam, [[อักษรเทวนาครี]]: श्याम) เป็นชื่อที่ต่างชาติใช้เรียก[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางของประเทศไทย]]ในอดีตและมักรวมถึงชาว[[ไทยสยาม]]ซึ่งเป็นชนชาติไทยในภูมิภาคนี้ แต่มิใช่ชื่อคนกลุ่มนี้เรียกตนเอง [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ </ref> สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา<ref name="ททท"/> ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน<ref>ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.</ref> อีกทั้ง ชื่อ ''สยาม'' นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย{{อ้างอิง}}
 
ในปัจจุบันมีความพยายามที่จะเปลี่ยนชื่อประเทศไทย กลับไปเป็นสยาม{{อ้างอิง}} แต่จะเห็นว่าคนไทยเดิมไม่เรียกตัวเองว่า สยาม กลับเป็นคนกลุ่มมอญ-เขมร ที่เรียกคนที่ใช้ภาษาตระกูลไท-ลาว เดี๋ยวนี้ชาวบรู (มอญ-เขมร) ในเขตมุกดาหาร เรียกพวกผู้ไทว่า "เซียม" รวมถึงในเขตจีน-พม่า คนไท มักถูกพวกละว้า เรียกว่าเซียม และโดยลักษณะการเรียกชื่อชนชาติอื่น เหมือนที่จีนเรียกพวกไท ว่า ไป่เยว่ หรือลาว เรียกพวกที่พูดภาษามอญ-เขมร ในลาว ว่า "ข่า" เป็นต้น{{อ้างอิง}}
เส้น 32 ⟶ 35:
* ใน[[ภาษาพม่า]]นั้น เรียก[[คนไทย]]ว่า "เซี้ยน" ซึ่งถ้าดูจากการเขียน จะใช้ตัวสะกดเป็นตัว ม (ซย+ม) แต่ในภาษาพม่านั้นอ่านออกเสียงตัวสะกดตัว ม เป็นตัว น จึงทำให้เสียงเรียกคำว่า "สยาม" เพี้ยนเป็น "เซี้ยน" ในปัจจุบัน คนในประเทศพม่ามักจะเรียกชนกลุ่มที่พูด[[ภาษาตระกูลขร้า-ไท]]ต่าง ๆ ว่า "เซี้ยน" หรือ ชื่อประเทศหรือพื้นที่ตามด้วยเซี้ยน เช่นเรียก[[คนไทย]]ว่า "โย้ตะย้าเซี้ยน" (คนสยามโยธยา ซึ่งเมื่อก่อน [[อยุธยา]]เป็นเมืองหลวง) หรือไท้เซี้ยน (คนสยามไทย), เรียก[[คนลาว]]ว่า "ล่าโอ่เซี้ยน" (คนสยามลาว), เรียกคนชนกลุ่มไทในจีนว่า "ตะโย่วเซี้ยน" (คนสยามจีน ซึ่งคำว่า "ตะโย่ว" ใน[[ภาษาพม่า]]แปลว่า "จีน") และเรียกคน[[ไทใหญ่]]ในรัฐชานว่า ต่องจยี๊เซี้ยน (สยาม[[ตองยี | ต่องกี๊]] ซึ่งเป็นเมืองหลวงของ[[รัฐชาน]]ในปัจจุบัน และจริง ๆ แล้วคำว่า "[[รัฐชาน]]" นั้นคือ "รัฐสยาม" แต่พม่าออกเสียงเพี้ยนเป็น "เซี้ยน ปี่แหน่" เขียนเป็นอังกฤษว่า Shan State แล้วคนไทยก็ออกเสียงเพี้ยนจากคำอังกฤษ "Shan" เป็น "ชาน" จึงกลายเป็นรัฐชานตามการเรียกของ[[คนไทย]]ในปัจจุบัน) และทางการรัฐบาลพม่ากำหนดให้ คน[[ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี]] มีสัญชาติเป็น เซี้ยน เช่นเดียวกับคนไทใหญ่ในรัฐชาน{{อ้างอิง}}
* ตามจดหมายเหตุเก่าของจีน ในบริเวณประเทศไทยปัจจุบันนั้น แต่เดิมมีอาณาจักรอยู่ด้วยกัน 2 อาณาจักร คือ อาณาจักร "เซียน" (暹国; น่าจะหมายถึง สยาม หรือ สุโขทัย) ซึ่งอยู่ทางเหนือขึ้น แต่ยังอยู่ใต้ต่ออาณาจักร "ร้อยสนม" (มีผู้สันนิษฐานว่าคือ[[อาณาจักรล้านนา]]-[[ไทใหญ่]]) และอาณาจักร "หลัววอ" (羅渦国; น่าจะหมายถึง อยุธยา ซึ่งจีนยังใช้ชื่อของ ละโว้ เรียกอยู่) ซึ่งอยู่ทางใต้ลงไป โดยอาณาจักร "เซียน" นั้นมักประสบปัญหาขาดแคลนอาหาร ต้องนำเข้าข้าวจากอาณาจักร "หลัววอ" จนในที่สุด อาณาจักร "เซียน" และอาณาจักร "หลัววอ" ได้รวมกันเข้า ทางราชสำนักจีนจึงได้รวมเรียกชื่ออาณาจักรใหม่ที่เกิดจากการรวมกันดังกล่าวว่า อาณาจักร "เซียนหลัว" (暹罗国; ภาษาจีนกลางยุคปัจจุบัน="เซียนหลัวกว๋อ" ภาษาจีน[[สำเนียงแต้จิ๋ว|แต้จิ๋ว]] = "เสี่ยมล้อก๊ก") ซึ่งได้กลายเป็นนามเรียกอาณาจักรโดยชาวจีนมาจนกระทั่งมีการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นประเทศไทย จึงได้เปลี่ยนชื่อเรียกเป็น "ไท่กว๋อ" (泰国){{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
* นักนิรุกติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์บางคน ได้แสดงถึงความใกล้เคียงกันของคำว่า สยาม และ ชาน (Shan) ซึ่งใช้เรียกอาณาจักรของ[[ชาวไท]]บริเวณตอนใต้ของจีน ทางตอนเหนือของพม่า และทาง[[รัฐอัสสัม]]ของ[[อินเดีย]]{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
*
* สยาม เป็นคำเรียกของชาวตะวันตก ที่มาทำการค้า การเดินทางมาทางเรือต้องผ่านพม่าก่อน ชาวพม่าบอกชาวตะวันตกว่า เซียม ชาวไท ออกเสียงเป็น เซียน ซึ่งปัจจุบันเป็น [[ชาน]]เนื่องจากชาวพม่าออกเสียง น หนู ไม่ได้ จึงเพี้ยนเป็น ม ม้า ชานชาวพม่าหมายถึง รัฐชาน ในประเทศพม่า, อาณาจักรล้านนา ในไทย, ลาว, ภาคอีสานตอนเหนือ ในไทย, ตอนใต้ของยูนนาน ในจีน, ด้านตะวันตกของภาคเหนือในเวียดนาม ชาติไทยนั้นกลัว อินเดีย เพราะว่าอินเดียเคยล้มอาณาจักรไชยาได้ ซึ่งไทยสู้ไม่ได้ในยุคนั้น จึงมีภาษาของอินเดียปะปนอยู่มาก ทั้งในภาษาไทยและศาสนาพุทธด้วย{{อ้างอิง}}
*
 
== สยามในฐานะชนชาติ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สยาม"