ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|คำเรียกประเทศไทยในอดีต}}
{{ดูเพิ่มที่|ไทย (แก้ความกำกวม)}}
'''สยาม''' ([[อักษรละติน]]: Siam, [[อักษรเทวนาครี]]: श्याम) เป็นชื่อที่ต่างชาติใช้เรียก[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางของประเทศไทย]]ในอดีตและมักรวมถึงชาว[[ไทยสยาม]]ซึ่งเป็นชนชาติไทยในภูมิภาคนี้ แต่มิใช่ชื่อคนกลุ่มนี้เรียกตนเอง [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ </ref> สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา<ref name="ททท"/> ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน<ref>ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.</ref> อีกทั้ง ชื่อ ''สยาม'' นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย{{อ้างอิง}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สยาม"