ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
 
 
'''สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3''' แห่ง[[ประเทศเลโซโท|เลโซโท]] ({{lang-en|Letsie III of Lesotho}}) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬา[[เทนนิส]] และทรงสนพระราชหฤทัยในด้าน[[การเกษตร]] พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่[[สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งรัฐของราชอาณาจักรเลโซโท]] เสด็จลี้ภัยทางการเมือง
 
 
== พระราชประวัติ ==
พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ [[17 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2506]] เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท]]และ[[สมเด็จพระราชินีมาโมฮาโตแห่งเลโซโท]] ทรงมีพระราชอนุชา 1 พระองค์ คือ [[เจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท]] และพระกนิษฐภคินี 1 พระองค์ คือ [[เจ้าหญิงคอนสแตนซ์ มาเซเอโซแห่งเลโซโท]] ทรงโปรดการเล่นกีฬา[[เทนนิส]] และทรงสนพระราชหฤทัยในด้าน[[การเกษตร]]
=== การศึกษา ===
* ทรงจบการศึกษาปริญญาตรี สาขา[[นิติศาสตร์]] จาก National University of Lesotho
บรรทัด 37:
* ทรงศึกษาต่อในสาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร ที่[[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ปี [[พ.ศ. 2533]]
 
=== พระราชวงศ์ ===
===การอภิเษกสมรสและพระราชโอรสพระราชธิดา===
พระองค์อภิเษกสมรสกับนางสาวแอนนา คาราโบ มอตโซเอเนง (ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ]]) เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 พระองค์ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา 3 พระองค์ ได้แก่
# [[เจ้าหญิงซีนาตี เซโอโซแห่งเลโซโท]]
# เจ้าหญิงมาเซเอโซ
# [[เจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ มกุฎราชกุมารแห่งเลโซโท]]
 
== การเสวยราชสมบัติ ==
* ครั้งแรก พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2533]] - กุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2538]] ขณะที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท พระราชบิดาทรงอยู่ระหว่างการลี้ภัยทางการเมืองในสหราชอาณาจักร
* ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2539]] ภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท
 
== ความสัมพันธ์กับประเทศไทย ==
พระองค์เสด็จพระราชดำเนินมายังประเทศไทยหลายครั้ง ทั้งในฐานะพระราชอาคันตุกะ แขกของรัฐบาล และเสด็จเป็นการส่วนพระองค์
* วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2549 พระองค์เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ เพื่อเข้าร่วมพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช]] ในฐานะพระราชอาคันตุกะ การเสด็จพระราชดำเนินครั้งนี้นับเป็นการเสด็จพระราชดำเนินมายังประเทศไทยครั้งแรกของทั้ง 2 พระองค์<ref name="">{{cite web|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9490000076128|title=สมเด็จพระเทพฯ ทรงรับพระราชอาคันตุกะจาก 'เลโซโท'|publisher=ผู้จัดการออนไลน์|accessdate=11 พฤษภาคม 2563}}</ref>
* ทรงได้รับประกาศนียัตร สาขากฎหมายอังกฤษจาก University of Bristol
 
==แหล่งข้อมูล==
http://sameaf.mfa.go.th/th/country/africa/detail.php?ID=44#1
{{รายการอ้างอิง}}
 
==ดูเพิ่ม==