ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรบที่เมืองรุมเมืองคัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
เฟซบุ๊ก พันทิป กระดานสนทนา ฯลฯ ไม่ใช่แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด-นิยาย}}
{{เพิ่มต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox Military Conflict
| conflict = การรบที่เมืองรุมเมืองคัง
บรรทัด 40:
ในพงศาวดารไทยในตอนศึกเมืองรุมเมืองคัง ได้กล่าวถึงกองทัพของพระสังขทัตที่ยกมาตีเมืองรุมเมืองคัง ซึ่งไม่ได้กล่าวถึงว่าเป็นใครมาจากไหน [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ทรงสันนิษฐานว่าคือโอรสพระเจ้านันทบุเรงที่ได้เป็นพระเจ้าแปร ต่อมาทรงเปลี่ยนสันนิษฐานเป็น[[นะฉิ่นเหน่าง์]]ในพระนิพนธ์หนังสือ[[ไทยรบพม่า]] และในหนังสือพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทำให้เชื่อกันว่าพระสังขทัตคือนะฉิ่นเหน่าง์ แต่จากพงศาวดารเกตุมดีตองอูระบุว่านะฉิ่นเหน่าง์มีอายุได้ 13 ปีในสงครามยุทธหัตถี เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในศึกเมืองรุมเมืองคัง นะฉิ่นเหน่าง์จะมีอายุประมาณ 2-3 ปี ทำให้พระสังขทัตไม่น่าจะเป็นคนเดียวกันกับนะฉิ่นเหน่าง์
 
ปัจจุบันมีการสันนิษฐานว่าพระสังขทัตควรเป็น[[สิริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะ|พระเจ้าเมาะตะมะสิริสุธรรมราชา]] พระราชโอรสของ[[พระเจ้าบุเรงนอง]]กับ[[พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดี|พระนางราชเทวี]] ซึ่งมีพระนามเดิมว่า'''สังฆทัตถ''' (သင်္ဃဒတ္ထ) หรือ '''สังฆาทัตถ''' (သင်္ဃာ ဒတ္ထ) อันมีความใกล้เคียงกับชื่อพระสังขทัตในพงศาวดารไทยมาก<ref>https://www.facebook.com/WipakHistory/posts/1238825226180945/</ref><ref>https://pantip.com/topic/32774880</ref>{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
 
==ในหลักฐานพม่าและจีน==
ศึกเมืองรุมเมืองคังปรากฏเฉพาะในพงศาวดารฝ่ายไทย ไม่ปรากฏในพงศาวดารพม่า ในพงศาวดารพม่ามีเหตุการณ์ที่คล้ายกันคือ ในพ.ศ. 2125 เจ้าฟ้าไทใหญ่เมืองจันตา (ปัจจุบันอยูในเขตใต้คงและเป่าซาน มณฑลยูนนาน) และเมืองสองสบ (ปัจจุบันอยู่ใกล้กับเมืองก๋อง รัฐกะชีน) ไม่ยอมส่งบรรณาการให้พม่า หนีไปตั้งหลักที่เมืองจันตา (盏达) ในเขตใต้คง [[มณฑลยูนนาน]] พระเจ้านันทบุเรงจึงให้[[ตะโธรรมราชาที่ 2|พระเจ้าแปรสะโตธรรมราชา]]และ[[นรธาเมงสอ|พระเจ้าเชียงใหม่นรธามังช่อ]]ยกกองทัพขึ้นไปปราบปราม ล้อมเมืองจันตา 5 เดือนจึงยึดเมืองได้ จับเจ้าฟ้าทั้งสองกลับหงสาวดีในพ.ศ. 2126 ในหมิงสื่อลู่ได้ระบุว่ามีชาวจีนในยูนนานชื่อเยว่เฟิง (嶽鳳) และคนเมืองกึ๋งม้าชื่อห่านเฉียน (罕虔) ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกองทัพพม่า และกล่าวว่าพม่าได้โจมตีหัวเมืองไทใหญ่ในเขตยูนนานจำนวนมาก แต่ถูกราชวงศ์หมิงโต้กลับ โดยส่งหลิวทิง (劉綎) และเติ้งจื่อหลง (鄧子龍) สองแม่ทัพเข้ามาทำศึกกับพม่า สงครามครั้งนี้จบลงด้วยความพ่ายแพ้ของหงสาวดี ในปีพ.ศ. 2127<ref>https://www.facebook.com/WipakHistory/photos/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B5-%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%87-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%87-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%8B%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99/2371150232948433/</ref><ref>https://www.facebook.com/AsianStudiesTH/posts/657184611023124/</ref>{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
 
==เมืองรุมเมืองคัง==