ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Thomascw (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Marut28
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ประวัติ
บรรทัด 77:
| box_width =
}}
'''เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)''' หรือ '''เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี''' หรือ '''เจ้าพระยานครน้อย''' นามเดิม '''น้อย ณ นคร''' (27 สิงหาคม พ.ศ. 2319 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2381) เจ้าเมือง[[นครศรีธรรมราช]]สมัยคนที่สามแห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]]คนที่ 3พระราชโอรสองค์รองสุดท้ายใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] บุตรบุญธรรมในของ[[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร)|เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์)]] เป็นพระราชโอรสองค์รองสุดท้ายผู้มีบทบาทใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]การปราบกบฏเมืองไทรบุรี
 
== ประวัติ ==
[[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนู)]] ตั้งตนขึ้นเป็นเจ้าชุมนุมนครศรีธรรมราชหลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] หนึ่งในธิดาของเจ้าพระยานครฯ (หนู) คือคุณหญิงชุ่มได้สมรสเป็นภรรยาของพระอุปราช (พัฒน์) แห่งเมืองนครฯ หลังจากที่[[สมเด็จพระเจ้าตากสิน]]เสด็จมาปราบชุมนุมนครศรีธรรมราชได้ในพ.ศ. 2312 ธิดาอีกคนของเจ้าพระยานครฯ (หนู) คือคุณหญิงปราง ได้ถวายตัวเป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระเจ้าตากสินเป็น[[เจ้าจอมมารดาปราง ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|เจ้าจอมปราง]] หลังจากที่ท่านผู้หญิงชุ่มภรรยาของพระอุปราช (พัฒน์) ถึงแก่อสัญกรรม ในพ.ศ. 2317 สมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระดำริจะยกเจ้าจอมปรางให้เป็นภรรยาของพระอุปราช (พัฒน์) แต่ท้าวนางฝ่ายในได้กราบทูลว่าเจ้าจอมปรางขาดระดูได้สองเดือนแล้ว (หมายถึงกำลังจะมีพระครรภ์ให้แด่สมเด็จพระเจ้าตากสิน) พระเจ้าตากสินรับสั่งว่าตรัสแล้วไม่คืนคำต้องให้ออกไป พระอุปราช (พัฒน์) จึงจำต้องรับเจ้าจอมปรางมาไว้ที่เมืองนครฯ ตั้งขึ้นไว้เป็นนางเมืองไม่ได้เป็นภรรยา เจ้าจอมปรางให้กำเนิดบุตรชายที่เมืองนครศรีธรรมราชเมื่อวันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2319<ref>[http://www.ณนคร.com/16395027/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%93-%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A-%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2 บทที่-๓-เจ้าพระยานครศรีธรรมราช-น้อย] มูลนิธิสกุล ณ นคร สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref> ชื่อว่า น้อย ดังปรากฏในบันทึกในจดหมายเหตุความทรงจำของ[[กรมหลวงนรินทรเทวี]]ว่า
เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2319<ref>[http://www.ณนคร.com/16395027/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%93-%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A-%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2 บทที่-๓-เจ้าพระยานครศรีธรรมราช-น้อย] มูลนิธิสกุล ณ นคร สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref> ที่เมืองนครศรีธรรมราช ในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] เป็นพระราชโอรส[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]<ref>[https://board.postjung.com/788521.html อนุสาวรีย์เจ้าพระยานคร (น้อย) ราชบุตรลับของพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่ศาลากลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช] สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref> ประสูติแต่[[เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง]] และยังเป็นบุตรบุญธรรมของ[[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร)]] ซึ่งมีบันทึกในจดหมายเหตุความทรงจำของ[[กรมหลวงนรินทรเทวี]] ตอนที่ตรัสถึงเจ้าพระยานคร (น้อย) และเจ้าจอมมารดาปรางในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชว่า
 
''"เจ้าจอมมารดาปรางในพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชทานแก่อุปราชพัฒน์ มีความชอบชนะศึกชายาถึงแก่กรรม รับสั่งว่าอย่าเสียใจนักเลยจะให้เลี้ยงหลาน ท้าวนางกราบทูลว่า เริ่มตั้งครรภ์ได้ ๒ เดือนแล้ว แต่รับสั่งตรัสแล้วไม่คืนคำ พระราชวิจารณ์รัชกาลที่ ๕ ว่าไม่ทรงทราบหรือเป็นราโชบายให้เชื้อสายไปครองเมืองให้กว้างขวางออกไป แนวเดียวกับให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ไปครองเขมร เจ้าพัฒน์รับตั้งไว้เป็นนางเมือง มิได้เป็นภรรยาเป็นเรื่องเล่ากระซิบกันอย่างเปิดเผย บุตรติดครรภ์เป็นชายชื่อ น้อย เป็นเจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช สำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช มีอำนาจวาสนากว่าเจ้านครทุกคน"''
 
เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) เกิดที่เมืองนครศรีธรรมราช เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช<ref>[https://board.postjung.com/788521.html อนุสาวรีย์เจ้าพระยานคร (น้อย) ราชบุตรลับของพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่ศาลากลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช] สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref> ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง และเป็นบุตรบุญธรรมของพระอุปราช (พัฒน์) ซึ่งต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็น[[เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร)|เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์)]] ในพ.ศ. 2329 เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชคนที่สองต่อจากเจ้าพระยานครฯ (หนู) เมื่อเจ้าพระยานครฯ (น้อย) เจริญวัยขึ้น เจ้าพระยานครฯ (พัฒน์) ผู้เป็นบิดาบุญธรรมได้นำเจ้าพระยานครฯ (น้อย) เข้าเฝ้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] พระราชทานตำแหน่งเป็น''นายสรรพวิไชย'' มหาดเล็กหุ้มแพร ต่อมาได้เลื่อนขึ้นเป็น''พระบริรักษ์ภูเบศร์'' ตำแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช โปรดเกล้าฯให้กลับไปรับราชการที่เมืองนครศรีธรรมราช [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีลายพระหัตถเลขาเรียกชื่อเจ้าพระยานคร (น้อย) ตอนนี้ว่า "น้อยคืนเมือง"
 
ในพ.ศ. 2354 เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) กราบทูลต่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ว่า ตนเองมีความชราภาพขอลาออกจากตำแหน่งเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยฯจึงโปรดฯให้ตั้งพระบริรักษ์ภูเบศร์ (น้อย) ขึ้นเป็น''พระยานครศรีธรรมราช'' เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชเมื่ออายุได้สามสิบห้าปี เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชคนที่สามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และให้เลื่อนอดีตเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) เป็น''เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี'' จางวางเมืองนครศรีธรรมราช เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์) ผู้เป็นบิดาบุญธรรมถึงแก่อสัญกรรมในพ.ศ. 2357
 
ครั้นโตขึ้นเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ได้นำเข้าเฝ้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นนายสรรพวิไชย มหาดเล็กหุ้มแพร ปฏิบัติราชการสนองเบื้องยุคลบาทจนเป็นที่โปรดปราน พระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้นเป็นพระบริรักษ์ภูเบศร์ ตำแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช โปรดเกล้าให้กลับไปปฏิบัติราชการ ณ เมืองนครศรีธรรมราช [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีลายพระหัตถเลขาเรียกชื่อเจ้าพระยานคร (น้อย) ตอนนี้ว่า "น้อยคืนเมือง"
ต่อมาได้เลื่อนบรรดาศักดิ์และตำแหน่งหน้าที่สูงขึ้นเป็นพระยานครศรีธรรมราช และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์สุดท้ายที่ '''เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี''' ผู้สำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช<ref>[http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=23320.0 เจ้าพระยานคร (น้อย)] สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554</ref>