ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
'''พระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร)''' (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม '''ปีเตอร์ปิเตอร์ ไฟท์''' (Peter Feit) -หรือ '''ปิเตอร์ ไฟท์ วาทยะกร'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 43 |issue= 0 ง |pages= 454 |title= ส่งเครื่องราชอิศริยาภรณ์ไปพระราชทาน |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2469/D/438.PDF |date= 2 พฤษภาคม 2469 |language=ไทย}}</ref> (13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2511) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของ[[ประเทศไทย]] ผู้ริเริ่มการบันทึก[[เพลงไทยเดิม]]ด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า '''เพลงไทยประสานเสียง''' (Thai Music Harmony) ของ [[กรมศิลปากร]]
 
เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก [[ครูเอื้อ สุนทรสนาน]] และครู[[ชลหมู่ ชลานุเคราะห์]] (นักเชลโล่ ,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร ) ครู[[ประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา]] (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐาน[[วงดุริยางค์ทหารอากาศ]] และ [[วงดุริยางค์ตำรวจ]]
บรรทัด 22:
== ประวัติ ==
===วัยต้น===
เกิดที่ [[ตำบลบ้านทะวาย]] [[อำเภอบ้านทะวาย]] [[จังหวัดพระนคร]] เป็นบุตรของนายจาคอบ ไฟท์ (Jakob Feit) [[ชาวเยอรมัน]] กับนางทองอยู่ [[ชาวไทยเชื้อสายมอญ]] มีภรรยาสามคนคือ นางเบอร์ธา, นางบัวคำและ และนางลิ้ม มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 10 คน
 
เริ่มเข้าเรียนหนังสือที่[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] [[บางรัก]] เมื่อ พ.ศ. 2433 จบการศึกษาหลักสูตรภาษา[[ฝรั่งเศส]]และภาษา[[อังกฤษ]]เมื่อ [[พ.ศ. 2433]]