ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเครื่อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chayanit.a (คุย | ส่วนร่วม)
อ้างอิง พระเครื่อง
Bridget (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by Chayanit.a (talk) to last version by Sry85
บรรทัด 5:
 
== ประวัติการสร้าง ==
พระเครื่องมีความเป็นมาและวิวัฒนาการอันยาวนาน ก่อนจะมาเป็นพระเครื่องนั้นได้เกิด[[พระพิมพ์]]ขึ้นมาก่อน เมื่อบริบททางสังคมเปลี่ยนไป คติการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปและเลือนหายไปในที่สุด พระพิมพ์บางส่วนกลายมาเป็น[https://xn--42cg1eoedb1dza1a2a9cyg1e.com/ พระเครื่อง] พระพิมพ์เป็นของเก่าแก่ที่ได้มีผู้ทำขึ้นตั้งแต่ตอนต้นพุทธศาสนา มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดีย การแผ่ขยายอิทธิพลทางพุทธศาสนาไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ทำให้พระพิมพ์ซึ่งเป็นประติมากรรมเนื่องในคติทางพุทธศาสนาได้แผ่กระจายไปยังดินแดนต่าง ๆ พร้อมกับคำสอน ความเชื่อทางพุทธศาสนา พระธาตุและพระบรมสารีริกธาตุ รวมถึงวัตถุเนื่องในพุทธศาสนาด้วย<ref>ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์, '''ประวัติศาสตร์ผ่านพระเครื่อง''' (นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555).</ref>
 
พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยราวสมัยทวารวดีพร้อมกับความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ ในสมัยทวารวดีได้รับเอาคติความเชื่อของชาวอินเดียเข้ามาโดยตรงส่งผลให้การสร้าง[[พระพิมพ์ในสมัยทวารวดี]]มีวัตถุประสงค์การสร้างเหมือนกับอินเดีย คือ การสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาซึ่งเป็นความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่อง[[ปัญจอันตรธาน]]ซึ่งปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา เมื่อพุทธศาสนาแผ่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่าง ๆ แต่ละพื้นที่ อาทิ พุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเชื่อเรื่องการบำเพ็ญบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ ส่งผลให้การสร้าง[[พระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัย]]จากที่สร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายและเป็นการสะสมบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ในภายหน้า เป็นต้น
บรรทัด 14:
# เครื่องรางส่วนใหญ่ การสร้างสร้างให้มีขนาดเล็กเพื่อที่จะสามารถสร้างได้จำนวนมาก สำหรับบรรจุใน[[เจดีย์]] เพื่อว่าในอนาคตเมื่อ[[พระพุทธศาสนา]]เสื่อมลง วัตถุต่าง ๆ พังทลายยังสามารถพบรูปสมมุติของ[[พระพุทธเจ้า]]เพื่อแสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรื่องของ[[พระพุทธศาสนา]]
# ใช้เป็นเครื่องรางสำหรับคุ้มครองป้องกันในการออกศึก[[สงคราม]]ของคน[[โบราณ]] เป็นความเชื่อทาง[[ไสยศาสตร์]]อย่างหนึ่ง
# ปัจจุบันนิยมนำมาห้อยคอเป็นเครื่องรางหรือวัตถุมงคลสำหรับคุ้มครองป้องกันและเพื่อความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตตามความเชื่อปรัมปราของไทย
 
== ความนิยมของผู้นิยมสะสม ==
บรรทัด 51:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}<ref>พระเครื่องสยาม. ''พระเครื่องยอดนิยม ที่ถูกจัดให้เป็นที่สุดแห่ง พระเครื่องสยาม''. (2020). แหล่งที่มา https://xn--42cg1eoedb1dza1a2a9cyg1e.com/</ref>
 
[[หมวดหมู่:พระพุทธรูป]]