ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Law 555 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
== ประวัติ ==
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น<ref>[http://www.kkcat.ac.th/site2559/index.php?name=page&file=page&op=%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2 http://www.kkcat.ac.th/]ประวัติวิทยาลัย</ref> แรกก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2519 มีฐานะเป็น '''"โรงเรียนเกษตรกรรมขอนแก่น"''' ในพื้นที่สาธารณะ ป่าไม้บ้านโนนขี้เหล็ก ถนนแจ้งสนิท ตำบลกุดเค้า [[อำเภอมัญจาคีรี]] จังหวัดขอนแก่น บนพื้นที่ทั้งหมด 1,629 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา
* ต่อมาปี พ.ศ. 2521 โรงเรียนฯ ได้เปิดทาทำการเรียนกาสอนรุ่นแรกในหลักสูตรที่เปิดสอน คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเกษตร (ปวช.เกษตรกรรม)
* พ.ศ. 2524 โรงเรียนฯ ได้รับคำสั่งจากกรมอาชีวศึกษายกฐานะเป็น '''"วิทยาลัยเกษตรกรรมขอนแก่น"''' พร้อมทั้งได้อนุมัติให้เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเกษตรกรรม (ปวส.เกษตรกรรม) เพิ่มอีก 1 ระดับ
* พ.ศ. 2525 วิทยาลัยฯ ได้เปิดหลักสูตรพิเศษสาหรับอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมสำหรับเกษตรกร (ระยะสั้น) ในพื้นที่โครงการอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง (อพป.) และพื้นที่เป้าหมายเขตจังหวัดขอนแก่นเป็นปีแรก โดยการนำเกษตรกรในหมู่บ้านเข้ามาฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมพื้นฐานเป็นระยะเวลา 7 วัน อบรมปีละประมาณ 10 รุ่น รุ่นละ 30–35 คน
บรรทัด 27:
* พ.ศ. 2530 วิทยาลัยฯ เปิดสอนหลักสูตรโครงการอาชีวศึกษาเกษตรเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนในชนบท (อศ.กช.) โดยรับเยาวชนที่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 9 (ปศ.9) ที่มีอายุระหว่าง 15 – 20 ปี มาศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบเป็นเวลาประมาณ 5 ปี ได้วุฒิ (ปวช.พิเศษ)
* พ.ศ. 2536 วิทยาลัยฯ ได้รับคำสั่งจากกระทรวงศึกษาธิการให้รับผู้จบมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าศึกษาต่อหลักสูตร ปวส. ประเภทวิชาเกษตรกรรมเป็นปีแรก โดยใช้เวลาในการศึกษา 2 ปี
 
ต่อมาเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2537 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนในกรมอาชีวศึกษา และกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ขณะนั้น) จำนวน 77 แห่งทั่วประเทศ และในส่วนของจังหวัดขอนแก่นได้ประกาศจัดตั้ง วิทยาลัยชุมชนภายในวิทยาลัยเกษตรกรรมขอนแก่น มีชื่อว่า "'''"วิทยาลัยชุมชนแก่นนคร”''' โดยเปิดสอนในประเภทวิชาอื่น ๆ นอกจากที่วิทยาลัยฯ เปิดทำการสอนมาก่อนนั้นเช่น ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรมเกษตรและพาณชิยกรรม ในหลักสูตรระดับ ปวช. และในหลักสูตรระดับ ปวส. ประเภทบริหารธุรกิจ
* พ.ศ. 2539 นาย[[สุขวิช รังสิตพล]]รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ได้มีนโยบายปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพื่อชีวิต โดยรับผู้จบการศึกษาชั้น ม.3 จากโรงเรียนขยายโอกาสตามโครงการทางการศึกษาของสานักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เข้าเรียนหลักสูตร ปวช.เกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรและเทคโนโลยี โดยยกเว้นค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตรที่เรียน 3 ปี ลักษณะเป็นนักเรียนประจำจัดที่พักอาศัยให้และได้รับเงินอุดหนุนคนละ 5,000 บาทต่อปี และหลังจากนั้นไม่นานวิทยาลัยเกษตรกรรมขอนแก่นและวิทยาลัยชุมชนแก่นนคร ได้ควบรวมกันจากประกาศกฎกระทรวงให้รวมกันและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น '''"วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีขอนแก่น"'''
* พ.ศ. 2541 วิทยาลัยฯ ได้ทำความร่วมมือกับรัฐบาล[[ประเทศญี่ปุ่น]] ในโครงการแลกเปลี่ยนครูและนักศึกษาเพื่อไปศึกษาดูงานที่จังหวัดกุนม่า ประเทศญี่ปุ่น โดยมีครู 1 คนและนักศึกษา 3 คน เป็ระยะเวลา 1 ปี
* พ.ศ. 2542 วิทยาลัยฯ ได้ทำความร่วมมือกับรัฐบาล[[ประเทศอิสราเอล]] เพื่อจัดส่งนักศึกษาไปศึกษาดูงานในระบบทวิภาคีพื้นที่เขตอาราวา ประเทศอิสราเอล จำนวนปีละ 40 คน เป็ยระยะเวลา 1 ปี
เส้น 37 ⟶ 38:
* พ.ศ. 2555 วิทยาลัยฯ ได้ทำข้อตกลงในการจัดการอาชีวศึกษาระหว่างสถานประกอบการกับวิทยาลัย ฯ จำนวน 5 แห่งเพื่อจัดส่งนักศึกษาเข้าร่วมฝึกประสบการณ์วิชาชีพใสถานประกอบการณ์ยั้ยๆ และยังได้ทำความร่วมมือการจัดการศึกษาร่วมกับ''มหาวิทยาลัยยงเจียง'' เมืองหนานหนิง [[เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง]] ประเทศจีน เพื่อแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างไทย-จีน เป็นระยะเวลา 6 เดือน
* พ.ศ. 2555 วิทยาลัยฯ ได้ทำความร่วมมือการจัดการศึกษากับ''มหาวิทยาลัยเกษตรกรรมและป่าไม้'' [[แขวงบอลิคำไซ]] [[ประเทศลาว]] เพื่อทำการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างไทย-ลาว เป็นระยะเวลา 6 เดือน
 จนกระทั่ง พ.ศ. 2557 วิทยาลัยฯ ถูกควบรวมตามประกาศกฎกระทรวงเรื่อง "'''การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร พ.ศ. 2556"''' จึงมีผลทำให้วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น รวมเป็นหน่วยงานหนึ่งของใน'''สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ''' เพื่อทำการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
== เปิดสอน ==
เส้น 50 ⟶ 51:
* สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
* สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
* สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (''ศูนย์การเรียนหนองเรือ'')
* สาขาวิชาการบัญชี
* สาขาวิชาการบัญชี (''ศูนย์การเรียนหนองเรือ'')
 
==== หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง ====
เส้น 64 ⟶ 65:
* สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
* สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
* สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (''ศูนย์การเรียนหนองเรือ'')
* สาขาวิชาการบัญชี
* สาขาวิชาการบัญชี (''ศูนย์การเรียนหนองเรือ'')
 
==== หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ====
# '''เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)'''
 
รับนักศึกษาจบ ปวส. เกษตรศาสตร์ หรือ พืชศาสตร์
* สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช