ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปูเจ้าฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| color = pink
| image = Chao_pha_crab_card_phone.gif
| image_caption = ภาพใน[[บัตรโทรศัพท์]] โดย[[การสื่อสารแห่งประเทศไทย]] (กสท.) ผลิตในปี [[พ.ศ. 2538]]
| status = lc
| status_system = iucn3.1
บรรทัด 17:
| binomial_authority = Naiyanetr, [[ค.ศ. 1989]]
|subphylum=[[Crustacea]]}}
'''ปูเจ้าฟ้า''' หรือ, '''ปูสิรินธร''' หรือ '''ปูน้ำตก''' ({{lang-en|Panda crab}}; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''|Phricotelphusa sirindhorn''}}) เป็นปู[[น้ำตก]]พบที่[[วนอุทยานน้ำตกหงาว]] [[อำเภอเมืองระนอง|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดระนอง]] เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม [[พ.ศ. 2529]]<ref>สารคดีข่าว, นิตยสารสารคดี มิถุนายน พ.ศ. 2533 , หน้า 38</ref> เป็นปูที่มีสีสันสวยงาม กระดองและก้ามทั้งสองข้างเป็นสีขาว ขาเดินทั้งสี่คู่และเบ้าตาและบริเวณปากเป็น[[สีม่วง]][[ดำ]] มีลักษณะปล้องท้องและอวัยะเพศผู้คู่ที่ 1 ต่างจากปูชนิดอื่น
 
เมื่อโตเต็มที่ความกว้างของกระดอกประมาณ 9-9–25 [[มิลลิเมตร]] พบอยู่จำกัดบริเวณน้ำตกแถบ[[ภาคตะวันตก]]ของ[[ไทย]] เช่น น้ำตกห้วยยาง [[อำเภอทับสะแก]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] น้ำตกที่เขาพะเนินทุ่ง [[อำเภอแก่งกระจาน]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] เป็นต้น
 
ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตอัญเชิญพระนามาภิไธยของ [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของปูชนิดนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิด[[พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เมื่อวันที่ [[24 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2531]]
 
ปัจจุบัน ปูเจ้าฟ้าเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย [[พ.ศ. 2535|พุทธศักราช 2535]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|จ้เฟ้าเจ้าฟ้า}}
[[หมวดหมู่:ปู]]
[[หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิตที่พบในประเทศไทย]]