ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ส่วนประกอบ: แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8831519 สร้างโดย 202.137.156.38 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3:
'''เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ''' ({{lang-en|International Standard Book Number}}) หรือ '''ไอเอสบีเอ็น''' (ตัวย่อ: ISBN) เป็น[[รหัส]]ที่กำหนดขึ้นให้ใช้กับ[[สิ่งพิมพ์]]ประเภท[[หนังสือ]]ทั่วไป มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหนังสือแต่ละเรื่อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมข้อมูลสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ในด้านการสั่งซื้อ การขาย การบริการ การเงิน และการนำสินค้าออกจำหน่ายไปยังสำนักพิมพ์ในประเทศต่าง ๆ ระบบ ISBN ถูกสร้างขึ้นใน[[สหราชอาณาจักร]]ในปี [[พ.ศ. 2509]] โดยบริษัทผู้จัดพิมพ์และขายหนังสือ [[ดับเบิลยู เอช สมิธ]] และถูกเรียกว่า เลขมาตรฐานหนังสือ (Standard Book Numbering หรือ SBN) ต่อมา มีการนำ SBN มาใช้เป็นมาตรฐานสากล [[มาตรฐานสากล|ISO]] 2108 ในปี [[พ.ศ. 2513]] รหัสมาตรฐานที่คล้ายกัน [[หมายเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร]] (the International Standard Serial Number หรือ ISSN) ใช้สำหรับ[[นิตยสาร]]ที่ออกตามกำหนดเวลา
 
== ส่วนประกอบ ==
==ລາວ
ส่วนประกอบ ==
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค
* ส่วนที่ 1 ถ้าเป็นรหัส 13 ตัว จะขึ้นต้นด้วยรหัสของ European Article Numbering-Uniform Code Council คือ 978 หรือ 979 (รหัส 10 ตัว จะไม่มีส่วนนี้)