ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนพระรามที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boripat2543 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boripat2543 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 19:
*[[ถนนบรรทัดทอง]] ใน[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
*[[ถนนพญาไท]] ใน[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
*[[ถนนอังรีดูนังอังรีดูนังต์]] ใน[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
}}
| terminus_b = [[ถนนราชดำริ]] / [[ถนนเพลินจิต]] ใน[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
บรรทัด 25:
[[ไฟล์:Siamsquareskytrainstation.jpg|thumb|250px|ถนนพระรามที่ 1 ช่วงสยามสแควร์ พ.ศ. 2549]]
'''ถนนพระรามที่ ๑''' ({{lang-roman|Thanon Rama I}}) เป็นถนนในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของ[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] เริ่มต้นจาก[[ถนนกรุงเกษม]] ([[แยกกษัตริย์ศึก|สี่แยกกษัตริย์ศึก]]) ซึ่งต่อเนื่องมาจาก[[ถนนบำรุงเมือง]] บริเวณ[[สะพานกษัตริย์ศึก]] (ข้าม[[คลองผดุงกรุงเกษม]] และ[[ทางรถไฟสายเหนือ]]) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับ[[ถนนรองเมือง]] (ทางแยกกลางสะพานกษัตริย์ศึก) [[ถนนพระรามที่ 6]] ([[แยกพงษ์พระราม|สี่แยกพงษ์พระราม]]) ข้ามคลองสวนหลวงและตัดกับ[[ถนนบรรทัดทอง]] ([[สี่แยกเจริญผล]]) [[ถนนพญาไท]] ([[สี่แยกปทุมวัน]]) ข้ามคลองอรชร (สะพานเฉลิมเผ่า 52) ตัดกับ[[ถนนอังรีดูนังต์]] ([[สามแยกเฉลิมเผ่า]]) และไปสิ้นสุดที่[[ถนนราชดำริ]]บริเวณ[[สี่แยกราชประสงค์]] โดยมีถนนที่ตรงต่อเนื่องออกไปคือ[[ถนนเพลินจิต]]
 
== ประวัติ ==
ถนนพระรามที่ ๑ เดิมชื่อ "ถนนปทุมวัน" สร้างในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ต่อมาในวันที่ [[16 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2462]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนปทุมวัน ตั้งแต่สะพานยศเส (สะพานกษัตริย์ศึก) ถึงถนนราชดำริ เป็น "ถนนพระรามที่ 1" เพราะถนนสายนี้เกี่ยวข้องกับ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ขณะมีบรรดาศักดิ์เป็น[[สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก]]ในสมัยธนบุรีใช้เป็นเส้นทางเสด็จพระราชดำเนินกลับจากราชการที่เขมรเข้ามาปราบจลาจลใน[[กรุงธนบุรี]] ปลายรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] โดยผ่านเส้นทางถนนพระรามที่ 1 ผ่านจุดที่เป็นสะพานยศเสซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสะพานกษัตริย์ศึก และได้ทรงพักทำพิธีสระสนานที่วัดสะแกซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามเป็น[[วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร|วัดสระเกศ]]