ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ประวัติ
บรรทัด 24:
 
== ประวัติ ==
เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เดิมชื่อว่า'''สิงห์''' เป็นบุตรคนที่ 4 ของ[[เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)|เจ้าพระยาอภัยราชา]] กับท่านผู้หญิงฟัก เกิดเมื่อวันศุกร์ แรม 7 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะแม พ.ศ. 2318<ref>อ้างอิงตามจารึกที่ศาลเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร</ref> เทียบกับปฏิทินปัจจุบันตรงกับวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2319 ตรงกับปลายรัชกาลของรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] สถานที่เกิดอยู่บริเวณเชิงสะพานช้างโรงสีหน้ากระทรวงมหาดไทยใน[[เขตพระนคร]]ทุกวันนี้<ref>[http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%96%E0%B9%97 ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๗]</ref><ref>[http://su-usedbook.tarad.com/product.detail_40045_th_2829703 ประวัติเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี)] </ref><ref>[https://www.bodin.ac.th/home/chaopraya-history ประวัติเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ]</ref> เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สืบเชื้อสายมาจาก[[พราหมณ์ศิริวัฒนา]]พราหมณ์ปุโรหิตในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] โดยเจ้าพระยาบดินทรเดชาเป็นเหลนของพราหมณ์ศิริวัฒนา<ref name=":0">http://www.sinhaseni.com/History.php</ref> เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) บิดาของเจ้าพระยาบดินทรเดชาเป็น[[สมุหกลาโหม|สมุหพระกลาโหม]]ในช่วงปลายสมัย[[รัชกาลที่ 1]] และต้น[[รัชกาลที่ 2]] เจ้าพระยาบดินทรเดชามีพี่น้องรวมกันทั้งหมดเก้าคน<ref name=":0" /> มีพี่สาวคือเจ้าจอมปริกในรัชกาลที่ 1 และเจ้าจอมปรางในรัชกาลที่ 2
 
เมื่อเจริญวัยขึ้น ในช่วงปลายรัชกาลที่ 1 เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น) ผู้เป็นบิดาได้นำตัวนายสิงห์เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร]] และได้รับพระราชทานยศศักดิ์ในตำแหน่ง ''จมื่นเสมอใจราชและพระนายเสมอใจ'' ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ได้เลื่อนเป็นพระยาเกษตรรักษาว่าการกรมนาฝ่าย''จมื่นศรีบริรักษ์'' เป็นปลัดกรมพระตำรวจนอกขวาใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]] ในพ.ศ. 2352 จมื่นศรีบริรักษ์โดยเสด็จกรมพระราชวังบวรฯไปในสมัยรัชกาลที่การศึกพม่าตีเมืองถลางเป็นปลัดรองนายเรือลาดตระเวณ 2หลังจากศึกสิ้นสุดลงจมื่นศรีบริรักษ์ได้เลื่อนขึ้นเป็น''พระพรหมสุรินทร์'' ภายหลังเมื่อรัชกาลเจ้ากรมพระตำรวจใหญ่ขวาในกรมพระราชวังบวรฯ และหลังจากศึกที่[[อาณาจักรเขมรอุดง]]ในพ.ศ. 32354 ได้เลื่อนขึ้นครองราชย์สมบัติจึงโปรดให้เป็น ''พระราชโยธา'พระยา'เจ้ากรมมหาดไทยของฝ่ายกรมพระราชสุภาวดีบวรฯ และต่อมาได้เลื่อนเป็น''พระยาเกษตรรักษา''เป็นเกษตราธิบดีในกรมพระราชวังบวรฯ
 
ในพ.ศ. 2359 เจ้าเมืองน่านคล้องช้างเผือกมาถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงเสด็จออกไปรับช้างเผือก พระยาเกษตรรักษา (สิงห์) ออกรับเสด็จด้วยแต่เนื่องจากหมอกลงจัดทำให้พระยาเกษตรรักษา (สิงห์) แล่นเรือตัดหน้าฉานขบวนเรือพระที่นั่งขบวนหลังต้องโทษกบฏ กรมพระราชวังบวรฯทรงให้จำคุกพระยาเกษตรรักษา (สิงห์) ไว้เป็นเวลาสี่เดือนจนกระทั่ง[[กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์]]ได้ทรงช่วยทูลขอให้ไว้ชีวิตพระยาเกษตรรักษา พระยาเกษตรรักษา (สิงห์) จึงได้รับการปล่อยตัวพ้นโทษออกมาและในปีพ.ศ. 2360 กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ทิวงคต พระยาเกษตรรักษา (สิงห์) จึงดำรงฐานะเป็น "พระยาเกษตรรักษานอกราชการ"<ref>https://www.matichon.co.th/entertainment/arts-culture/news_640883</ref>
 
พระยาเกษตรรักษานอกราชการ (สิงห์) ได้ช่วยราชการในกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ในการต่อเรือค้าขายและการศาลต่างๆ ต่อมาเมื่อกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ขึ้นครองราชสมบัติเป็น[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระยาเกษตรรักษานอกราชการ (สิงห์) จึงได้เข้ารับราชการอีกครั้งในตำแหน่ง'''''พระยาราชสุภาวดี'''''เจ้ากรมพระสุรัสวดี
 
=== ศึกเจ้าอนุวงศ์ ===
ต่อมาในปี พ.ศ. 2369 [[เจ้าอนุวงศ์]]แห่งราชอาณาจักรล้านช้าง[[เวียงจันทน์]]ก่อสงครามขึ้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชสุภาวดีเป็นแม่ทัพหน้ายกไปปราบปรามกองทัพลาว ในที่สุดท่านได้ปราบปรามกองทัพลาวสำเร็จและสามารถยกเข้าเมืองนคร[[จำปาศักดิ์]]ได้สำเร็จ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งเป็น '''เจ้าพระยาราชสุภาวดี''' ว่าที่สมุหนายก
 
เสร็จศึกเจ้าอนุวงศ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงสถาปนาเจ้าพระยาราชสุภาวดีขึ้นเป็น '''เจ้าพระยาบดินทรเดชา''' อัครมหาเสนาบดีสมุหนายกใน พ.ศ. 2372 (เวลานั้นท่านอายุได้ 52 ปี)
 
=== อานามสยามยุทธ ===
อีกไม่กี่ปีต่อมา (พ.ศ. 2376) [[ญวน]]เกิดเข้าไปแทรกแซงหาทางจะเอา[[เขมร]]เป็นของตน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาบดินทรเดชายกทัพขึ้นไปสู้รบกับญวนอีก จนกระทั่งญวนยอมทำไมตรีกับไทยแล้ว และเหตุการณ์ในกัมพูชากลับเป็นปกติตามเดิมเจ้าพระยาบดินทรเดชาจึงเดินทางกลับเข้าสู่ประเทศไทยใน พ.ศ. 2391 ท่านได้ควบคุมบ้านเมืองในเขมรนานถึง 15 ปีเต็ม
 
เส้น 40 ⟶ 46:
เมื่อ[[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี|สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองด้วง)]] [[พระเจ้ากรุงกัมพูชา]] ได้ทราบว่า เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์) ถึงแก่อสัญกรรมแล้ว พระองค์ทรงระลึกถึงครั้งที่เจ้าพระยาบดินทรเดชาได้ช่วยเหลือปราบปรามหมู่ปัจจามิตรทั้งช่วยจัดราชการเมืองเขมรให้ราบคาบเรียบร้อยตลอดมา จึงดำรัสสั่งสร้างเก๋งขึ้นที่หน้าค่ายใหญ่ ใกล้[[วัดโพธาราม]]ในเมืองอุดงมีชัย (เมืองหลวงเก่าเมืองเขมร) แล้วให้พระภิกษุสุกชาวเขมรช่างปั้นฝีมือเยี่ยมในยุคนั้น ปั้นรูปเจ้าพระยาบดินทรเดชาขึ้นไว้เป็นอนุสาวรีย์ด้วยปูนเพชร และประกอบการกุศลมีสดับปกรณ์เป็นต้นปีละครั้งที่เก๋ง ชาวเขมรเรียกว่า "รูปองบดินทร" ตลอดมาจนบัดนี้ รูปนี้สร้างขึ้นในราวปีจอ พ.ศ. 2392
 
== ความทรงจำ ==
จากผลงานและคุณงามความดีที่ปรากฏต่อประเทศชาติ ทำให้อนุชนรุ่นหลังสร้างอนุสรณ์สถานขึ้นเพื่อเคารพสักการะและระลึกถึงพระคุณของท่านหลายแห่ง เช่น เมืองอุดงมีชัย ประเทศกัมพูชา, [[วัดจักรวรรดิราชาวาส]] (วัดสามปลื้ม), [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]], [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒]], [[นวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา|โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา]], [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔]], [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี]], [[โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ]], [[โรงเรียนเทพลีลา]], โรงเรียนพระปริยัติธรรมเจ้าพระยาบดินทรเดชา จังหวัดยโสธร, วัดมหาธาตุ อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร, ค่ายบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 11 อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี, ค่ายเจ้าพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี), กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 12 อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว, ค่ายบดินทรเดชา กรมทหารราบที่ 16 อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร, สถานีตำรวจภูธรโพธิ์ตาก อำเภอโพธิ์ตาก และองค์การบริหารส่วนตำบลค่ายบกหวาน อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย