ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
เซียนปากกา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|||เจ้าพระยานครราชสีมา}}
 
{{Infobox person
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| honorific_prefix =
| name = เจ้าพระยานครราชสีมา<br>(ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)
| termimage =
| honorific_suffix =
| imageimagesize = 200 px
| titleorder = เจ้าพระยานครราชสีมา
| image_size =
| altterm_start =
| captionterm_end =
| predecessor = พระยานครราชสีมา (เที่ยง ณ ราชสีมา)
| birth_name =
| successor = พระยานครราชสีมา (พระพรหมบริรักษ์ สิงหเสนี)
| birth_date =
| birth_placeorder2 =
|order3 =
| disappeared_date =
| disappeared_placebirth_date =
| disappeared_statusbirth_place =
| death_date =
| death_place =
| death_causeresidence =
| body_discoverednationality =
| father = [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] <br>[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]]
| resting_place =
| mother = [[เจ้าจอมมารดาจวน ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
| resting_place_coordinates = <!-- {{Coord|LAT|LONG|display=inline}} -->
| spouse = ท่านผู้หญิงทับทิม รายณสุข <br>ท่านผู้หญิงบุนนาค สิงหเสนี<br> ชุ่ม รายณสุข<br>อนุภริยาอื่น
| monuments =
| children = นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) <br> ทองแก้ว ณ ราชสีมา<br>พระยานครราชสีมา (เมฆ ณ ราชสีมา<br>เจ้าจอมชื่น ในรัชกาลที่ 3<br>เจ้าจอมทรัพย์ในรัชกาลที่ 3<br>เจ้าจอมแจ่ม ในรัชกาลที่ 3<br>คุณหญิงเปี่ยม ณ ราชสีมา<br>เจ้าจอมฉิม ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว<br>บุตรธิดาอื่น
| residence =
| religion =
| nationality = ไทย
| other_namessignature =
| ethnicityfootnotes =
| citizenship =
| education =
| alma_mater =
| occupation =
| years_active =
| employer =
| organization =
| agent =
| known_for =
| notable_works =
| style =
| influences =
| influenced =
| home_town =
| salary =
| net_worth =
| height =
| weight =
| television =
| title = เจ้าพระยานครราชสีมา
| term =
| predecessor =พระยานครราชสีมา (เที่ยง ณ ราชสีมา)
| successor = พระยานครราชสีมา (พระพรหมบริรักษ์ สิงหเสนี)
| party =
| movement =
| opponents =
| boards =
| religion =
| denomination =
| criminal_charge =
| criminal_penalty =
| criminal_status =
| spouse = ท่านผู้หญิงทับทิม รายณสุข <br>ท่านผู้หญิงบุนนาค สิงหเสนี<br> ชุ่ม รายณสุข<br>อนุภริยาอื่น
| partner =
| children = นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) <br> ทองแก้ว ณ ราชสีมา<br>พระยานครราชสีมา (เมฆ ณ ราชสีมา<br>เจ้าจอมชื่น ในรัชกาลที่ 3<br>เจ้าจอมทรัพย์ในรัชกาลที่ 3<br>เจ้าจอมแจ่ม ในรัชกาลที่ 3<br>คุณหญิงเปี่ยม ณ ราชสีมา<br>เจ้าจอมฉิม ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว<br>บุตรธิดาอื่น
| parents =
| relatives =
| callsign =
| awards =
| signature =
| signature_alt =
| signature_size =
| module =
| module2 =
| module3 =
| module4 =
| module5 =
| module6 =
| website =
| footnotes =
| box_width =
}}
 
'''เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)'''<ref>กรมศิลปากร, จดหมายเหตุนครราชสีมา 11 กันยายน พ.ศ. 2497, พิมพ์สนองคุณ เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา) และ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินท์ ณ ราชสีมา), กรุงเทพฯ: ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ม.ป.ป.)</ref><ref>[http://koratdaily.com/blog.php?id=6834 ต้นสกุล ณ ราชสีมา ย้อนเรื่อง เมืองโคราช]</ref> หรือ '''ทองอินท์, ทองอิน''' เจ้าเมืองนครราชสีมาสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ บุตรบุญธรรมใน[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]] เป็นพระราชโอรสองค์สุดท้ายใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และเป็นแม่ทัพคนสำคัญของไทยในสงครามปราบกบฏเวียงจันทน์ และสงครามอานามสยามยุทธ
 
'''เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)''' <ref>กรมศิลปากร, จดหมายเหตุนครราชสีมา 11 กันยายน พ.ศ. 2497, พิมพ์สนองคุณ เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา) และ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินท์ ณ ราชสีมา), กรุงเทพฯ: ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ม.ป.ป.)</ref><ref>[http://koratdaily.com/blog.php?id=6834 ต้นสกุล ณ ราชสีมา ย้อนเรื่อง เมืองโคราช]</ref> หรือ '''ทองอินท์, ทองอิน''' เจ้าเมืองนครราชสีมาสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ บุตรบุญธรรมใน[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]] เป็นพระราชโอรสองค์สุดท้ายใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และเป็นแม่ทัพคนสำคัญของไทยในสงครามปราบกบฏเวียงจันทน์ และสงครามอานามสยามยุทธ
 
== ประวัติ ==
เส้น 89 ⟶ 40:
 
== เกียรติประวัติ ==
=== ขึ้นเป็นเจ้าเมืองนครราชสีมาแทนพี่ชายบุญธรรม ===
เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ได้เริ่มรับราชการ ณ เมือง[[นครราชสีมา]] ตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 1 โดยช่วยงานราชการ พระยานครราชสีมา (เที่ยง ณ ราชสีมา) บุตรของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ซึ่งมีศักดิ์เป็นพี่ชายบุญธรรม ต่อมาในปลายรัชกาลที่ 2[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองนครราชสีมาสืบแทน และได้รับบรรดาศักดิ์สุดท้ายเป็น "เจ้าพระยากำแหงสงคราม รามภักดี อภัยพิริยบรากรมพาหุ เจ้าเมืองนครราชสีมา"
 
=== ปราบเจ้าเมืองขุขันธ์ เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ และเจ้าราชวงศ์แห่งจำปาศักดิ์ ===
เส้น 100 ⟶ 51:
พ.ศ. 2370 [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]] ได้ชุมนุมทัพที่นครราชสีมา เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ได้กลับเข้าเมืองนครราชสีมาไปเฝ้า มีรับสั่งให้คุมทัพเมืองนครราชสีมา และหัวเมืองไปช่วยกองทัพพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) ต่อมาคือเจ้าพระยาบดินทรเดชา) ในการปราบเจ้าราชวงศ์ที่เมืองจำปาศักดิ์ หลังจากนั้นให้ไปร่วมตีเมือง[[เวียงจันทน์ ]] ในครั้งนั้นได้พบครัวเมืองปักธงชัยกลับคืนมาจากการถูกกวาดต้อนไปบริเวณเมืองสกลนคร เมื่อเสร็จสิ้นการปราบกบฏเวียงจันทน์แล้วเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ได้นำชาวเมืองนครราชสีมาบูรณะเมืองนครราชสีมาให้กลับคืนมาดีเหมือนแต่ก่อน ในครั้งนั้นกองทัพไทยได้ร่วมกันสร้างวัดสามัคคี ในบริเวณนอกกำแพงเมืองด้านเหนือ
 
=== เป็นแม่ทัพสำคัญในสงครามกัมพูชา-ญวน ===
พ.ศ. 2376 กองทัพนครราชสีมาได้เป็นกำลังสำคัญในการทำสงครามกับญวนในดินแดนเขมร เพื่อขับไล่ญวนออกจากเขมร เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ได้ร่วมกับ [[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]] ทำการรบด้วยความสามารถ ต่อมาในปี พ.ศ. 2380 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ทำนุบำรุงเมืองพระตะบองให้มั่นคงแข็งแรงยิ่งขึ้น โดยนำชาวเมืองนครราชสีมาจำนวน 2,000 คน ไปปฎิบัติงานด้วยความเรียบร้อย
พ.ศ. 2376 โปรดเกล้าให้เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์) เป็นแม่ทัพใหญ่ในราชการสงครามกับกัมพูชา-ญวน ([[อานามสยามยุทธ]]) มีเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) เป็นแม่ทัพหน้า และ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)|เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ)]] เป็นแม่ทัพเรือ ในครั้งนั้นทัพหน้าของเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ได้เดินทัพจนเกือบถึงบริเวณเมือง[[ไซ่ง่อน]] ก่อนที่กองทัพไทยจะถูกทัพญวนตีโต้กลับมา และในปี พ.ศ. 2380 เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) เป็นแม่กองบูรณะกำแพงเมือง[[พระตะบอง]] และป้อมค่ายให้เข็งแรง เพื่อเตรียมรับศึกกัมพูชา-ญวน โดยเป็นแม่ทัพใหญ่ในเขต[[ทะเลสาบ]]ภาคตะวันออก
 
พ.ศ. 2383 เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) พร้อมด้วย พระยาภักดีนุชิต บุตรชาย คุมกำลังพลไปปรามกบฏนักองค์อิ่มที่เมือง[[พระตะบอง]] เพราะนักองค์อิ่มได้ปกครองเมืองพระตะบองแทนพระยาอภัยภูเบศร์ แล้วคิดกบฏไปฝักใฝ่กับญวณ โดยจับกุมกรรมการเมืองพระตะบอง รวมทั้ง พระยาราชานุชิต น้องชายของเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) และกวาดต้อนครอบครัวหนีไป กองทัพจากนครราชสีมาตามขับเคี่ยว จนถึงปี พ.ศ. 2386 เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ได้ล้มป่วย จึงกลับมาพักรักษาตัวที่เมืองนครราชสีมา ทำให้การรบยืดเยื้อต่อไป ซึ่งการทำสงครามกับญวนนี้ เมืองนครราชสีมาเป็นกำลังสำคัญของราชการทัพมาโดยตลอด <ref>[http://www.nakhonratchasima.go.th/korat2528/index.php/2016-08-28-06-25-33/2016-11-29-07-00-41 ประวัตินครราชสีมาสมัยกรุงศรีอยุธยาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3]</ref>
 
=== ถวายช้างเผือกแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ===
พ.ศ. 2377 เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์) ได้น้อมเกล้าฯ ถวายช้างเผือกช้างพลายเผือกหางดำที่พบในเขตเมืองนางรอง [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อช้างนั้นว่า "พระยามงคลนาคินทร์ อินทรไอยราววรรณ พรรณสีสังข์สารเศวต กมเลศรังสฤษฎิ์ อิศวรรังรักษ์ จักรกฤษณราชรังสัน มหันตมหาวัฒนาคุณ วิบุลยลักษณเลิศฟ้า" <ref>อ้างแล้ว, หน้า 67</ref> ในปี พ.ศ. 2387 ได้น้อมเกล้าฯ ถวายช้างพลายที่มีคชลักษณ์ดีอีก 3 เชือก (พลายบาน พลายเยียว และพลายแลม) และในปี พ.ศ. 2388 ก่อนอสัญกรรม ได้น้อมเกล้าฯ ถวาย ช้างพลายที่มีคชลักษณ์ดีอีก 2 เชือก (พลายอุเทน และ พลายสาร) <ref>อ้างแล้ว, หน้า 69</ref>
 
==เชื้อสาย/สกุล==