ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช้างแมมมอธ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
แมมมอธ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก โดยเฉพาะ[[ทวีปยุโรป]]และ[[เอเชียเหนือ]] เช่น [[ไซบีเรีย]] ยกเว้น[[ออสเตรเลีย]]และ[[อเมริกาใต้]] เป็นช้างที่มีลำตัวและงาใหญ่กว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก ปัจจุบันจะค้นพบ[[ซากดึกดำบรรพ์]]ของแมมมอธได้ใน[[Pleistocene |ยุคไพลสโตซีน]] <ref name="แมมมอธ"/>
 
แมมมอธ กำเนิดขึ้นมาเมื่อราว 2.6 ล้านปีก่อน ในยุค[[ไพลโอซีน]]ตอนต้น และ[[สูญพันธุ์]]อย่างสิ้นเชิง เมื่อ 11,700 ปีที่ผ่านมา (แมมมอธตัวสุดท้ายที่สูญพันธุ์ คือ แมมมอธแคระ ที่อาศัยบน[[เกาะแรงเกล]] ใน[[ทะเลอาร์กติก]] เมื่อราว 3,700 ปีก่อน<ref name="ช้าง"/>) แมมมอธมีขนาดโดยเฉลี่ย 4 เมตร (14 ฟุต) ตั้งแต่เท้าจนถึงหัวไหล่ มีสีขนที่หลากหลายตั้งแต่น้ำตาล หรือน้ำตาลออกเหลือง ความยาวตั้งแต่ 2.5 เซนติเมตร (1 นิ้ว) จนถึง 50 เซนติเมตร (20 นิ้ว) ภายใต้ผิวหนังหนาและมีชั้นไขมันเป็นฉนวนกันความหนาว 8 เซนติเมตร (3 นิ้ว) มีส่วนหัวที่กลม ใบหูเล็กกว่าช้างในยุคปัจจุบันมาก มีโหนกไขมันอยู่บริเวณส่วนหลัง มีงายาวโค้งได้ถึง 13 ฟุต (4 เมตร)<ref name="Mam"/> มีฟันกรามเป็นสัน ทั้งนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อเหมาะแก่การอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีแต่ความหนาวในยุคน้ำแข็ง เพื่อรักษาความอบอุ่นในร่างกาย <ref name="แมมมอธ"/>
 
แมมมอธ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ใน[[ยุคหินเก่า]] ด้วยการล่าเอาเนื้อเป็นอาหาร หนังและไขมันเป็นเครื่องสร้างความอบอุ่น จนมีภาพเขียนสีบนผนังถ้ำหลายแห่งที่ปรากฏภาพ การล่าแมมมอธด้วยอาวุธที่ทำจาก[[หิน]]ในยุคนั้น <ref name="แมมมอธ"/>