ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต่อมลูกหมาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 85:
เนื้อเยื่อของต่อมลูกหมากประกอบด้วย ต่อม (glands) และ ส่วนพยุง (stroma)<ref name="Wheaters2013" /> โดยส่วนต่อมบุด้วย[[เนื้อเยื่อบุผิว|เซลล์รูปคอลัมนาร์]] ([[เนื้อเยื่อบุผิว]])<ref name="Wheaters2013" /> เนื้อเยื่อบุเหล่านี้มีการวางตัวแบบชั้นเดียวหรือไม่ก็แบบซูโดสแตรติไฟด์<ref name="Grays2016" /> เนื้อเยื่อบุผิวนั้นมีความแปรผันสูงและ และพื้นที่ที่มีเนื้อเยื่อบผิวแบบ[[เนื้อเยื่อบุผิว|คิวบอยดัล]]หรือแบบสวามัสต่ำก็ยังมีให้เห็นได้ เช่นเดียวกับเนื้อเยื่อบุผิวแบบทรานซิชันแนลในส่วนปลายของท่อยาวด้วย<ref name="titleAn overview of Prostate Development">{{cite web|url= http://www.ana.ed.ac.uk/database/prosbase/prosdev.html |archiveurl=https://web.archive.org/web/20030430000050/http://www.ana.ed.ac.uk/database/prosbase/prosdev.html |archivedate= 2003-04-30 |title= Prostate Gland Development|accessdate= 2011-08-03 |work= ana.ed.ac.uk}}</ref> ส่วนต่อมจะพบรูพรุนได้เป็นจำนวนมาก ซึ่งจะมีการระบายลงสู่คลองยาว (long canal) และท่อหลัก 12–20 ท่อในลำดับถัดมา โดยต่อมาก็จะระบายลงสู่ท่อปัสสาวะที่ทอดตัวผ่านต่อมลูกหมาก<ref name="Grays2016" /> นอกจากนี้ยังมีเซลล์เบซัลอยู่จำนวนน้อย ซึ่งวางตัวอยู่ถัดจากเยื่อฐานของต่อม ทำหน้าที่เป็นเซลล์ต้นกำเนิด<ref name="Wheaters2013" />
 
ส่วนพยุงของต่อมลูกหมาก ประกอบด้วย [[เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน|เนื้อเยื่อเส้นใย]] และ[[กล้ามเนื้อเรียบ]]<ref name="Wheaters2013" /> เนื้อเยื่อเส้นใยจะแยกต่อมออกเป็นกลีบ<ref name="Wheaters2013" /> นอกจากนี้ยังวางตัวอยู่ระหว่างต่อมและเป็นส่วนประกอบอย่างสุมสุ่มของมัดกล้ามเนื้อเรียบที่ต่อเนื่องกับกระเพาะปัสสาวะด้วย<ref>{{Cite web|url=https://webpath.med.utah.edu/TUTORIAL/PROSTATE/PROSTATE.html|title=Prostate|website=webpath.med.utah.edu|access-date=2019-11-17}}</ref>
 
เมื่อเวลาผ่านไป จะมีสิ่งหลั่งที่จับตัวหนาขึ้น เรียกว่า [[คอร์ปอรา อะไมเลเซีย]] (corpora amylacea) ค้างอยู่ภายในต่อม<ref name="Wheaters2013" />
บรรทัด 91:
ประเภทของเซลล์ทาง[[มิญชวิทยา]]ที่ปรากฏอยู่ในต่อมลูกหมากนั้นมีอยู่สามชนิด ได้แก่ เซลล์ต่อม (glandular cells), เซลล์ไมโอเอพิทีเลียม (myoepithelial cells) และเซลล์ซับเอพิทีเลียมอินเตอร์สติเชียล (subepithelial interstitial cells)<ref>{{in lang|en}}
{{Cite journal | pmid = 24571575| year = 2014| last1 = Gevaert| first1 = T| title = Characterization of subepithelial interstitial cells in normal and pathologic human prostate| journal = Histopathology| volume = 65| issue = 3| pages = 418–28| last2 = Lerut| first2 = E| last3 = Joniau| first3 = S| last4 = Franken| first4 = J| last5 = Roskams| first5 = T| last6 = De Ridder| first6 = D| doi = 10.1111/his.12402}}</ref>
 
===การแสดงออกของยีนและโปรตีน===
{{ข้อมูลเพิ่มเติม|ชีวสารสนเทศ}}
ยีนเข้ารหัสโปรตีนประมาณ 20,000 ชนิดแสดงอยู่ในเซลล์ของมนุษย์ และเกือบร้อยละ 75 ของยีนเหล่านี้พบแสดงอยู่ในต่อมลูกหมากปกติ<ref>{{Cite web|url=https://www.proteinatlas.org/humanproteome/prostate|title=The human proteome in prostate - The Human Protein Atlas|website=www.proteinatlas.org|access-date=2017-09-26}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Uhlén|first=Mathias|last2=Fagerberg|first2=Linn|last3=Hallström|first3=Björn M.|last4=Lindskog|first4=Cecilia|last5=Oksvold|first5=Per|last6=Mardinoglu|first6=Adil|last7=Sivertsson|first7=Åsa|last8=Kampf|first8=Caroline|last9=Sjöstedt|first9=Evelina|date=2015-01-23|title=Tissue-based map of the human proteome|journal=Science|volume=347|issue=6220|pages=1260419|doi=10.1126/science.1260419|issn=0036-8075|pmid=25613900}}</ref> ยีนเหล่านี้ประมาณ 150 ตัวมีการแสดงออกอย่างจำเพาะมากกว่าในต่อมลูกหมาก โดยมียีนประมาณ 20 ตัวที่มีความจำเพาะสูงในต่อมลูกหมาก<ref>{{Cite journal|last=O'Hurley|first=Gillian|last2=Busch|first2=Christer|last3=Fagerberg|first3=Linn|last4=Hallström|first4=Björn M.|last5=Stadler|first5=Charlotte|last6=Tolf|first6=Anna|last7=Lundberg|first7=Emma|last8=Schwenk|first8=Jochen M.|last9=Jirström|first9=Karin|date=2015-08-03|title=Analysis of the Human Prostate-Specific Proteome Defined by Transcriptomics and Antibody-Based Profiling Identifies TMEM79 and ACOXL as Two Putative, Diagnostic Markers in Prostate Cancer|journal=PLOS ONE|volume=10|issue=8|pages=e0133449|doi=10.1371/journal.pone.0133449|pmid=26237329|pmc=4523174|issn=1932-6203|bibcode=2015PLoSO..1033449O}}</ref> โปรตีนจำเพาะที่เกี่ยวข้องจะถูกแสดงในเซลล์ต่อมและเซลล์หลั่งของต่อมลูกหมาก และมีหน้าที่สำคัญต่อลักษณะของ[[น้ำอสุจิ]] โปรตีนจำเพาะของต่อมลูกหมากบางชนิดเป็น[[เอนไซม์]] เช่น [[สารก่อภูมิต้านทานจำเพาะต่อมลูกหมาก|สารก่อภูมิต้านทานจำเพาะต่อมลูกหมาก (PSA)]] และโปรตีน [[โพรสเตติกแอซิดฟอสเฟเทส|ACPP]]
 
== อ้างอิง ==