ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต่อมลูกหมาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
{{Infobox anatomy
| Name = ต่อมลูกหมาก
| Latin = Prostata
บรรทัด 5:
| Caption = กายวิภาคเพศชาย
| Width = 300
| Image2 = Gray1160.png
| Caption2 =
| Caption2 = ต่อมลูกหมากซึ่งมี[[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ]] (seminal vesicles) และ [[ท่อน้ำเลี้ยงอสุจิ]] (seminal ducts) มองจากข้างหน้าและข้างบน
| Precursor = [[Endodermic evaginationการโปนของเอนโดเดิร์ม]] ของ[[ท่อปัสสาวะ]]
| System =
| Artery = [[หลอดเลือดแดงอวัยวะเพศภายนอกใน]], [[หลอดเลือดแดงกระเพาะปัสสาวะล่าง]], และ[[หลอดเลือดแดงไส้ตรงกลาง]]
| Artery = [[Internal pudendal artery]], [[inferior vesical artery]], และ [[middle rectal artery]]
| Vein = [[ข่ายหลอดเลือดดำต่อมลูกหมาก]], [[ข่ายหลอดเลือดดำอวัยวะเพศภายนอก]], [[ข่ายหลอดเลือดดำกระเพาะปัสสาวะ]], [[หลอดเลือดดำกระดูกปีกสะโพกใน]]
| Vein = [[Prostatic venous plexus]], [[pudendal plexus (veins)|pudendal plexus]], [[vesical venous plexus|vesical plexus]], [[internal iliac vein]]
| Nerve = [[Inferior hypogastric plexusข่ายประสาทไฮโปแกสทริกล่าง]]
| Lymph = [[ต่อมน้ำเหลืองกระดูกปีกสะโพกใน]]
| Lymph = [[internal iliac lymph nodes]]
}}
{{เตือนเรื่องเพศ}}
'''ต่อมลูกหมาก''' ({{lang-en|prostate}}) เป็น[[ต่อมมีท่อ]]ของ[[ระบบสืบพันธุ์เพศชาย]]ใน[[#ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม|สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่]]และ[[#ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง|สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด]] ต่อมลูกหมากมีความแตกต่างกันอย่างมากไปตามแต่ละสปีชีส์ ทั้งในทางกายวิภาคศาสตร์ เคมี และสรีรวิทยา ในภาษาอังกฤษคำว่า ''prostate'' มาจาก[[ภาษากรีกโบราณ]]ว่า προστάτης (''prostátēs'') แปลตรงตัวได้ว่า "สิ่งที่ตั้งอยู่มาก่อน", "ผู้คุ้มครอง", "ผู้ปกครอง"<ref>{{cite web|url=http://etymonline.com/?term=prostate|title=Prostate|work=Online Etymology Dictionary|first=Douglas|last=Harper|accessdate=2013-11-03}}</ref> ส่วนในภาษาไทย[[ราชบัณฑิตยสถาน]]ได้ให้ความหมายคำว่า[[ลูกหมาก]]ในแง่อวัยวะไว้ว่า เป็นต่อมในเพศชายรูปร่างคล้ายเนื้อในของ[[หมาก|ผลหมาก]]<ref>{{cite web|url=https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-institute/ลูกหมาก|title=ลูกหมาก|work=Sanook Dictionary|accessdate=2020-04-24}}</ref>
'''ต่อมลูกหมาก''' ({{lang-en|prostate}}) เป็นอวัยวะในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ชาย ที่อยู่ตรงด้านหลังของคอ [[กระเพาะปัสสาวะ]] ในอุ้งเชิงกรานหลัง[[กระดูกหัวหน่าว]] ลักษณะต่อมมี 5 กลีบ หนักประมาณ 20 กรัม<ref>http://www.doctor.or.th/node/1153</ref> ทำหน้าที่สร้างของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม ที่เป็นส่วนหนึ่งของ[[น้ำอสุจิ]] มีกลิ่นเฉพาะตัว สารที่หลั่งออกมาเป็นเบสอ่อนๆ ช่วยให้เกิดสภาพเหมาะสมกับตัว[[อสุจิ]] ลดสภาพความเป็น[[กรด]]ของท่อปัสสาวะและช่วยให้อสุจิแข็งแรงและว่องไวขึ้น
 
ในทางกายวิภาคศาสตร์ ต่อมลูกหมากสามารถถูกแบ่งย่อยได้สองวิธี คือ แบ่งเป็นบริเวณ หรือ แบ่งเป็นกลีบ ต่อมลูกหมากไม่มีปลอกหรือถุงหุ้ม ในทางตรงกันข้ามจะมีแถบเส้นใยกล้ามเนื้อฝังใน (integral fibromuscular band) ล้อมรอบแทน<ref name="Pelvic fasciae in urology">{{Cite journal| last1 = Raychaudhuri | first1 = B.| last2 = Cahill | first2 = D.| doi = 10.1308/003588408X321611| title = Pelvic fasciae in urology| journal = Annals of the Royal College of Surgeons of England| volume = 90| issue = 8| pages = 633–637| year = 2008| pmid = 18828961| pmc =2727803}}</ref> โดยถูกหุ้มห่ออยู่ในกล้ามเนื้อของฐานเชิงกรานอีกที ซึ่งกล้ามเนื้อจะหดตัวในระหว่างที่มี[[การหลั่งน้ำอสุจิ]] นอกจากนี้ตัวต่อมลูกหมากเองยังมี[[กล้ามเนื้อเรียบ]]บางส่วน คอยช่วยในการขับ[[น้ำอสุจิ]]ออกมาในระหว่างการหลั่งน้ำอสุจิด้วย
ในผู้สูงอายุมักพบ[[โรคต่อมลูกหมากโต]]
 
หน้าที่ของต่อมลูกหมากคือการหลั่งของเหลว ซึ่งเป็นส่วนประกอบในปริมาตรของน้ำอสุจิ น้ำต่อมลูกหมาก (prostatic fluid) นี้มีลักษณะเป็นด่างเล็กน้อย ปรากฏเป็นสีน้ำนมหรือสีขาว และในมนุษย์มักจะมีน้ำต่อมลูกหมากประกอบอยู่ประมาณร้อยละ 30 ของปริมาตรน้ำอสุจิ ส่วนอีกร้อยละ 70 เป็น[[สเปอร์มาโทซูน]]และน้ำ[[ถุงน้ำอสุจิ]]<ref>{{cite journal|year=1942|title=Chemical composition of human semen and of the secretions of the prostate and seminal vehicles|journal=Am J Physiol|volume=136|issue=3|pages=467–473|doi=10.1152/ajplegacy.1942.136.3.467|last1=Huggins|first1=Charles|last2=Scott|first2=William W.|last3=Heinen|first3=J. Henry|doi-access=free}}</ref> โดยความเป็นด่างของน้ำอสุจิช่วยทำให้สภาพกรดของ[[ช่องคลอด]]เป็นกลาง ทำให้อายุของตัวอสุจิยาวนานขึ้น
 
น้ำต่อมลูกหมากจะถูกขับออกมาในช่วงแรกของการหลั่งน้ำอสุจิ พร้อมกับตัวอสุจิส่วนมาก เมื่อเทียบกับสเปอร์มาโทซูนที่ถูกขับออกมาพร้อมกับน้ำถุงน้ำอสุจิเป็นหลัก จะพบว่า สเปอร์มาโตซูนที่อยู่ในน้ำต่อมลูกหมากจะมี[[การเคลื่อนไหวเอง]]ที่ดีกว่า อยู่รอดได้นานขึ้น และปกป้องสารพันธุกรรมไวัได้ดีกว่า
 
โรคของต่อมลูกหมาก ประกอบด้วย [[ต่อมลูกหมากโต]], ต่อมลูกหมาก[[อักเสบ]], ต่อมลูกหมากติดเชื้อ และ[[มะเร็งต่อมลูกหมาก]]
 
==โครงสร้าง==
[[ไฟล์:Gray1160.png|thumb| Caption2 = ต่อมลูกหมากซึ่งมี[[ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงถุงน้ำอสุจิ]] (seminal vesiclesvesicle) และ [[ท่อน้ำเลี้ยงน้ำอสุจิ]] (seminal ducts) มองจากข้างหน้าและข้างบน ]]
 
ต่อมลูกหมากเป็น[[ต่อมมีท่อ]]ใน[[ระบบสืบพันธุ์เพศชาย]] ในผู้ใหญ่จะมีขนาดประมาณผล[[วอลนัต]]<ref name="Wheaters2013">{{cite book|title=Wheater's functional histology: a text and colour atlas.|last1=Young|first1=Barbara|last2=O'Dowd|first2=Geraldine|last3=Woodford|first3=Phillip|date=2013|publisher=Elsevier|isbn=9780702047473|edition=6th|location=Philadelphia|pp=347–8}}</ref> ต่อมลูกหมากตั้งอยู่ในเชิงกราน ภายในต่อมเป็นทางผ่านของ[[ท่อปัสสาวะ]]ที่มาจากกระเพาะปัสสาวะ เรียกว่า [[ท่อปัสสาวะส่วนต่อมลูกหมาก]] ซึ่งมี[[ท่อฉีดอสุจิ]]อีกสองท่อมารวมเข้าด้วย<ref name="Wheaters2013" />
 
ต่อมลูกหมากปกติของผู้ใหญ่มีน้ำหนักประมาณ 11 กรัม และมักแปรผันอยู่ระหว่าง 7 ถึง 16 กรัม<ref>{{cite journal |vauthors= Leissner KH, Tisell LE |title= The weight of the human prostate |journal= Scand. J. Urol. Nephrol. |volume= 13 |issue= 2 |pages= 137–42 |year= 1979 |pmid= 90380 |doi= 10.3109/00365597909181168}}</ref> ส่วนปริมาตรของต่อมลูกหมากสามารถประมาณได้จากสูตร 0.52 × ความยาว × ความกว้าง × ความสูง โดยต่อมลูกหมากที่มีปริมาตรมากกว่า 30 ลบ.ซม. จะถือว่าเป็น''ต่อมลูกหมากโต'' (prostatomegaly) การศึกษาระบุว่า ปริมาตรต่อมลูกหมากในบรรดาผู้ป่วยที่ผล[[การตัดเนื้อออกตรวจ]]เป็นลบ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับน้ำหนักและส่วนสูง (ดัชนีมวลกาย) ดังนั้น จึงมีความจำเป็นในการควบคุมน้ำหนัก<ref name=":0">{{cite journal |title= The association between body size, prostate volume and prostate-specific antigen |vauthors= Fowke JH, Motley SS, Cookson MS, Concepcion R, Chang SS, Wills ML, Smith-Jr JA|date= December 19, 2006 |volume= 10 |issue= 2 |doi= 10.1038/sj.pcan.4500924 |pmid= 17179979 |journal= Prostate Cancer and Prostatic Diseases |pages= 137–142|doi-access= free }}</ref> ต่อมลูกหมากนั้นล้อมรอบ[[ท่อปัสสาวะ]]อยู่ทางด้านล่างของ[[กระเพาะปัสสาวะ]] จึงสามารถสัมผัสได้ผ่าน[[การตรวจทางทวารหนัก]]
 
ชั้นเส้นใยโดยรอบต่อมลูกหมากบางครั้งจะเรียกว่า ''ปลอกหุ้มต่อมลูกหมาก'' (''prostatic capsule'') หรือ ''พังผืดต่อมลูกหมาก'' (''prostatic fascia'')<ref name="Grays2016" /> และล้อมรอบด้วยแถบเส้นใยกล้ามเนื้อฝังใน<ref name="Pelvic fasciae in urology"/>
 
===การแบ่งย่อย===
ต่อมลูกหมากสามารถถูกแบ่งย่อยได้สองวิธี คือ แบ่งเป็นบริเวณ หรือ แบ่งเป็นกลีบ<ref name="Wheaters2013" /> เนื่องจากความแปรปรวนในคำอธิบายและคำจำกัดความของกลีบ จึงทำให้การแบ่งเป็นบริเวณนั้นโดดเด่นกว่า<ref name="Wheaters2013" />
 
====กลีบ====
การจัดแบ่งเป็น "กลีบ" (lobe) นั้นพบการใช้ได้บ่อยครั้งในทางกายวิภาคศาสตร์ ซึ่งต่อมลูกหมากจะถูกแบ่งออกเป็นห้ากลีบอย่างไม่สมบูรณ์ ดังนี้
{| class="wikitable"
|-
| กลีบหน้า (Anterior lobe) (หรือ isthmus) || สอดคล้องโดยประมาณกับบริเวณเชื่อม
|-
| กลีบหลัง (Posterior lobe) || สอดคล้องโดยประมาณกับบริเวณรอบนอก
|-
| กลีบข้างซ้ายและขวา (Right & left Lateral lobes) || ครอบคลุมทุกบริเวณ
|-
| กลีบใน (Median lobe) หรือกลีบกลาง (or middle lobe) || สอดคล้องโดยประมาณกับบริเวณกลาง
|}
 
====บริเวณ====
ต่อมลูกหมากสามารถถูกแบ่งออกได้เป็นสามหรือสี่บริเวณ<ref name="Wheaters2013" /><ref name=Grays2016>{{Cite book|title=Gray's anatomy : the anatomical basis of clinical practice|editor=Standring, Susan|isbn=9780702052309|edition=41st|location=Philadelphia|oclc=920806541|year=2016|section=Prostate|pp=1266–1270}}</ref> การจัดแบ่งเป็น "บริเวณ" (zone) นี้พบการใช้ได้บ่อยครั้งในทาง[[พยาธิวิทยา]]<ref name=":1">{{cite journal|author=Myers, Robert P|year=2000|title=Structure of the adult prostate from a clinician's standpoint|journal=Clinical Anatomy|volume=13|issue=3|pages=214–5|doi=10.1002/(SICI)1098-2353(2000)13:3<214::AID-CA10>3.0.CO;2-N|pmid=10797630}}</ref> ซึ่งต่อมลูกหมากมีบริเวณต่อม (glandular region) ที่แตกต่างกันอยู่สี่บริเวณ โดยสองจากสี่บริเวณนั้นเกิดมาจากส่วนที่แตกต่างกันของท่อปัสสาวะส่วนต่อมลูกหมาก ดังนี้
{| class="wikitable"
|-
| '''ชื่อ''' || '''ส่วนของต่อมในผู้ใหญ่<ref name="Wheaters2013" />''' || '''คำอธิบาย'''
|-
| บริเวณรอบนอก (Peripheral zone หรือ PZ) || 70% || ส่วนกึ่งปลอกหุ้มของมุมด้านหลังของต่อมลูกหมากที่ล้อมรอบ[[ท่อปัสสาวะ]]ส่วนปลาย [[มะเร็งต่อมลูกหมาก]]ร้อยละ 70–80 มีจุดเริ่มต้นมาจากส่วนนี้ของต่อม<ref name="urologymatch1">[http://www.urologymatch.com/ProstateAnatomy.htm "Basic Principles: Prostate Anatomy"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20101015014554/http://www.urologymatch.com/ProstateAnatomy.htm |date=2010-10-15 }}. Urology Match. Www.urologymatch.com. Web. 14 June 2010.</ref><ref name="prostate-cancer1">[http://www.prostate-cancer.com/prostate-cancer-treatment-overview/overview-prostate-anatomy.html "Prostate Cancer Information from the Foundation of the Prostate Gland."] Prostate Cancer Treatment Guide. Web. 14 June 2010.</ref>
|-
| บริเวณกลาง (Central zone หรือ CZ) || 20% || บริเวณนี้ล้อมรอบ[[ท่อฉีดอสุจิ]]<ref name="Wheaters2013" /> บริเวณกลางมีสัดส่วนในมะเร็งต่อมลูกหมากประมาณร้อยละ 2.5 โดยมะเร็งจากบริเวณนี้มีแนวโน้มจะก้าวร้าวมากกว่า และมีแนวโน้มที่จะลามไปยังถุงน้ำอสุจิ<ref name="pmid18343454">{{cite journal |vauthors= Cohen RJ, Shannon BA, Phillips M, Moorin RE, Wheeler TM, Garrett KL |title= Central zone carcinoma of the prostate gland: a distinct tumor type with poor prognostic features |journal= The Journal of Urology |volume= 179 |issue= 5 |pages= 1762–7; discussion 1767 |year= 2008|pmid= 18343454 |doi= 10.1016/j.juro.2008.01.017 }}</ref>
|-
| บริเวณเชื่อม (Transition zone หรือ TZ) || 5% || บริเวณเชื่อมล้อมรอบท่อปัสสาวะส่วนต้น<ref name="Wheaters2013" /> มะเร็งต่อมลูกหมากมีจุดเริ่มต้นจากบริเวณนี้ประมาณร้อยละ 10–20 บริเวณนี้เป็นบริเวณที่เติบโตได้ตลอดชีวิตของต่อมลูกหมาก อันเป็นที่มาของโรค[[การเจริญเกินของต่อมลูกหมาก]]<ref name="urologymatch1"/><ref name="prostate-cancer1"/>
|-
| บริเวณเส้นใยกล้ามเนื้อหน้า (Anterior fibro-muscular zone) (หรือ[[ส่วนพยุง]]) || N/A || ส่วนนี้ไม่ถือเป็นบริเวณเสมอไป<ref name="Grays2016" /> โดยปกติแล้วมักจะปราศจากซึ่งส่วนหรือส่วนประกอบของต่อม อันเป็นที่มาของชื่อ ซึ่งสื่อถึง[[กล้ามเนื้อ]]และ[[เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน]]<ref name="Wheaters2013" />
|}
 
<gallery mode="packed" heights="200px">
File:Illu prostate lobes.jpg|กลีบของต่อมลูกหมาก
File:Prostate zones.png|บริเวณของต่อมลูกหมาก
</gallery>
 
===หลอดเลือดและน้ำเหลือง===
หลอดเลือดดำของต่อมลูกหมากมาจากข่ายที่เรียกว่า [[ข่ายหลอดเลือดดำต่อมลูกหมาก]] ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณรอบพื้นผิวด้านหน้าและด้านนอก<ref name="Grays2016" /> ข่ายหลอดเลือดนี้ยังรับเลือดมาจาก[[หลอดเลือดดำด้านบนขององคชาต|หลอดเลือดดำลึกด้านบน]]ขององคชาตด้วย และเชื่อมต่อผ่านทางแขนงเข้าสู่[[ข่ายหลอดเลือดดำกระเพาะปัสสาวะ]]และ[[หลอดเลือดดำอวัยวะเพศภายนอกใน]]<ref name="Grays2016" /> โดยหลอดเลือดดำมีการระบายเข้าสู่[[หลอดเลือดดำกระเพาะปัสสาวะ]]และ[[หลอดเลือดดำกระดูกปีกสะโพกใน]]<ref name="Grays2016" />
 
การระบายน้ำเหลืองจากต่อมลูกหมากขึ้นอยู่กับต่ำแหน่งของพื้นที่ ซึ่งหลอดน้ำเหลืองที่อยู่โดยรอบหลอดนำอสุจิ บางส่วนของหลอดน้ำเหลืองในถุงน้ำอสุจิ และหลอดน้ำเหลืองจากพื้นผิวด้านหลังของต่อมลูกหมาก จะถูกระบายเข้าสู่ต่อมน้ำเหลืองกระดูกปีกสะโพกนอก<ref name="Grays2016" /> ขณะที่บางส่วนของหลอดน้ำเหลืองจากถุงน้ำอสุจิ หลอดน้ำเหลืองต่อมลูกหมาก และหลอดน้ำเหลืองจากด้านหน้าของต่อมลูกหมาก จะถูกระบายเข้าสู่[[ต่อมน้ำเหลืองกระดูกปีกสะโพกใน]]<ref name="Grays2016" /> ส่วนหลอดน้ำเหลืองของตัวต่อมลูกหมากเองนั้นยังอาจระบายเข้าสู่ต่อมน้ำเหลืองออบทูเรเตอร์และ[[ต่อมน้ำเหลืองกระดูกใต้กระเบนเหน็บ]]ได้ด้วย<ref name="Grays2016" />
 
<gallery>
File:Gray611.png | ชื่อ[[ต่อมน้ำเหลือง]]บางส่วนของ[[เชิงกราน]]
File:Lymphatics of the prostate-Gray619.png|หลอดน้ำเหลืองของต่อมลูกหมาก
</gallery>
 
== อ้างอิง ==