ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมมารดาจวน ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เซียนปากกา (คุย | ส่วนร่วม)
เซียนปากกา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''เจ้าจอมมารดาจวน''' หรือ '''เจ้าหญิงจวน''' <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช| จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544| ISBN = 974-222-648-2| จำนวนหน้า = 490}}</ref><ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = เล็ก พงษ์สมัครไทย| ชื่อหนังสือ = พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์| URL =| จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง| ปี = พ.ศ. 2549| ISBN = 974-9687-35-3| หน้า = หน้าที่| จำนวนหน้า = 160}}
{{ขาดอ้างอิง}}
'''เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน'''</ref> เป็นพระสนมเจ้าจอมมารดาใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และเป็นท่านผู้หญิงใน [[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]]
 
== พระประวัติ ==
'''เจ้าจอมมารดาจวน''' หรือ '''เจ้าหญิงจวน''' เป็นพระธิดาใน[[พระเจ้านครศรีธรรมราช]] (หนู) เจ้าประเทศราชพระเจ้าผู้ครองนครศรีธรรมราช กับ พระชายาทองเหนี่ยว มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาจำนวนรวม 6 องค์ ในจำนวนนี้เป็นเจ้าจอมมารดาในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ด้วยกัน 3 องค์ คือ เจ้าหญิงฉิม เจ้าหญิงปราง และเจ้าหญิงจวนได้แก่
* เจ้าหญิงชุ่ม เป็นชายาในพระมหาอุปราช (พัฒน์) ซึ่งต่อมาได้เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช <ref>[http://blog.eduzones.com/tambralinga/2646 ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช ประวัติศาสตร์ในสายหมอก] โดย สุนทร ธานีรัตน์, มกราคม 2546</ref>
* เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงฉิม หรือ เจ้าจอมมารดาฉิม ใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] เป็นพระมารดาของ[[สมเด็จเจ้าฟ้าชายทัศพงศ์]] , [[สมเด็จเจ้าฟ้าชายทัศไภย]] , [[สมเด็จเจ้าฟ้าชายนเรนทรราชกุมาร]] และ[[ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงปัญจปาปี]]
* เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง หรือ เจ้าจอมมารดาปราง ใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] เป็นพระมารดาของ [[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)]] ต้นราชสกุล "โกมารกุล ณ นคร" "ณ นคร" และ "จาตุรงคกุล"
* เจ้าหญิงจวน หรือ เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน ใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]
* เจ้าหญิงสั้น เป็น ภริยาพระยาวิเศษสุนทร (นาค นกเล็ก) ต้นตระกูล บุรณศิริ, สุจริตกุล และ ภูมิรัตน์
* เจ้าหญิงนวล เป็น ชายาในพระมหาอุปราช (พัฒน์) แห่งนครศรีธรรมราช มีธิดา 2 องค์
** เจ้าหญิงนุ้ยใหญ่ (เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]) เป็นพระชนนีใน [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]] วังหน้าในรัชกาลที่ 3 มีราชสกุลที่สืบต่อมาคือ ราชสกุลอิสรศักดิ์ , ราชสกุลกำภู , ราชสกุลเกศรา, ราชสกุลอนุชะศักดิ์ และ ราชสกุลนันทิศักดิ์
** เจ้าหญิงนุ้ยเล็ก (เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก ใน [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]) เป็นพระมารดาของใน พระองค์เจ้าหญิงปัทมราช
 
พ.ศ. 2321 คราวที่เจ้านครเวียงจันทน์ได้ส่งกำลังมารุกรานอาณาเขตไทย สมัยพระวอพระตาหนีมาสร้างเมืองอุบลราชธานี พระเจ้ากรุงธนบุรีได้กรีฑาทัพไปปราบเมืองเวียงจันทน์ และมอบหน้าที่สำคัญให้[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]] เป็นกองหน้า ซึ่งการสงครามปราบปรามเวียงจันทน์ครั้งนั้นได้รับชัยชนะ พร้อมกับได้อัญเชิญพระแก้วมรกตจากนครเวียงจันทน์มาประดิษฐานไว้ ณ กรุงธนบุรีด้วย และในการออกสงครามนั้นเอง ท่านผู้หญิงของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมลง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระเมตตาและสงสารท่าน จึงพระราชทานเจ้าหญิงจวน น้องสาวของ[[กรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์]] พระราชธิดาพระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) ให้แก่ [[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]] เองก็ทราบว่าเจ้าหญิงจวนเป็นพระสนมและซึ่งขณะนั้นกำลังทรงตั้งพระครรภ์อยู่ด้วย แต่จะไม่รับพระราชทานก็ไม่ได้ ก็จำต้องรับไว้ในฐานะแม่เมือง<ref>[https://sites.google.com/site/nirachanrsai/cea-cxm-marda-cea-hying-cwn เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน]</ref>
* เจ้าหญิงชุ่ม เป็นชายาในพระมหาอุปราช (พัฒน์) ซึ่งต่อมาได้เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช <ref>[http://blog.eduzones.com/tambralinga/2646 ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช ประวัติศาสตร์ในสายหมอก] โดย สุนทร ธานีรัตน์, มกราคม 2546</ref>
* เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงฉิม เป็นพระมารดาของ[[สมเด็จเจ้าฟ้าชายทัศพงศ์]], [[สมเด็จเจ้าฟ้าชายทัศไภย]], [[สมเด็จเจ้าฟ้าชายนเรนทรราชกุมาร]]และ[[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงปัญจปาปี]]
* เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง เป็นพระมารดาของ [[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)]] ต้นราชสกุล "โกมารกุล ณ นคร" "ณ นคร" และ "จาตุรงคกุล"
* เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน
* เจ้าหญิงสั้น เป็นภริยาพระยาวิเศษสุนทร (นาค นกเล็ก) ต้นตระกูล บุรณศิริ, สุจริตกุล และ ภูมิรัตน์
* เจ้าหญิงนวล เป็นชายาในพระมหาอุปราช (พัฒน์) แห่งนครศรีธรรมราช มีธิดา 2 องค์
** เจ้าหญิงนุ้ยใหญ่ (เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]) พระชนนีใน [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]] วังหน้าในรัชกาลที่ 3 มีราชสกุลที่สืบต่อมาคือ ราชสกุลอิสรศักดิ์ ,ราชสกุลกำภู ,ราชสกุลเกศรา,ราชสกุลอนุชะศักดิ์ และราชสกุลนันทิศักดิ์
** เจ้าหญิงนุ้ยเล็ก (เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก ใน [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]) พระมารดาของพระองค์เจ้าหญิงปัทมราช
 
== พระราชโอรส ==
พ.ศ. 2321 คราวที่เจ้านครเวียงจันทน์ได้ส่งกำลังมารุกรานอาณาเขตไทย สมัยพระวอพระตาหนีมาสร้างเมืองอุบลราชธานี พระเจ้ากรุงธนบุรีได้กรีฑาทัพไปปราบเมืองเวียงจันทน์ และมอบหน้าที่สำคัญให้[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]] เป็นกองหน้า ซึ่งการสงครามปราบปรามเวียงจันทน์ครั้งนั้นได้รับชัยชนะ พร้อมกับได้อัญเชิญพระแก้วมรกตจากนครเวียงจันทน์มาประดิษฐานไว้ ณ กรุงธนบุรีด้วย และในการออกสงครามนั้นเอง ท่านผู้หญิงของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมลง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระเมตตาและสงสารท่าน จึงพระราชทานเจ้าหญิงจวนน้องสาวของกรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์ พระราชธิดาพระเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) เองก็ทราบว่าเจ้าหญิงจวนเป็นพระสนมและกำลังทรงครรภ์อยู่ด้วย แต่จะไม่รับพระราชทานก็ไม่ได้ ก็จำต้องรับไว้ในฐานะแม่เมือง<ref>[https://sites.google.com/site/nirachanrsai/cea-cxm-marda-cea-hying-cwn เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน]</ref>
'''เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน''' มีพระราชโอรส 1 พระองค์ คือ
 
* [[เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)]] บุตรบุญธรรมใน[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น ณ ราชสีมา)]] เป็นพระราชโอรสองค์สุดท้ายใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และเป็นแม่ทัพคนสำคัญของไทยในสงครามปราบกบฏเวียงจันทน์ และสงครามอานามสยามยุทธ
==พระราชโอรส==
เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงจวน มีพระราชโอรส 1 พระองค์คือ
#[[เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอินทร์ ณ ราชสีมา)]]
 
== อ้างอิง ==
* {{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ
| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544
| ISBN = 974-222-648-2
| จำนวนหน้า = 490
}}
 
* {{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = เล็ก พงษ์สมัครไทย
| ชื่อหนังสือ = พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง
| ปี = พ.ศ. 2549
| ISBN = 974-9687-35-3
| หน้า = หน้าที่
| จำนวนหน้า = 160
}}
 
* http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=stat05&month=28-01-2008&group=2&gblog=10
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ภรรยาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี}}
 
[[หมวดหมู่:เจ้าจอมมารดา|จวน]]
[[หมวดหมู่:พระภรรยาในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช|จวน]]
{{โครงชีวประวัติ}}