ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรม ติณสูลานนท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ลบไฟล์:Gen.prem in navy suit.jpgด้วยบอต เพราะถูกแจ้งลบ (อภิปราย)
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 77:
นอกจากยศ '''พลเอก''' แล้ว พลเอกเปรม ได้รับพระราชทานยศ '''พลเรือเอก''' ของ[[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]] และ '''พลอากาศเอก''' ของ[[กองทัพอากาศไทย|กองทัพอากาศ]] ด้วย จากการพระราชทานโปรดเกล้าฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2529<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/D/093/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานยศทหาร]</ref>
 
== ตำแหน่งการเข้าร่วมงานทางการเมือง ==
ในปี* พ.ศ. 2502 ในสมัยจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] พลเอกเปรมได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จากนั้นได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาปี 2511 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปีสมัยรัฐบาลของ 2515จอมพล <ref name="thairath0562"></ref>ในช่วงสมัยจอมพล[[ถนอมสฤษดิ์ กิตติขจรธนะรัชต์]]
* พ.ศ. 2511 ได้รับการแต่งตั้งเป็น[[สมาชิกวุฒิสภา]]ปี 2511
* พ.ศ. 2515 ได้รับการแต่งตั้งเป็น[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2515|สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]<ref name="thairath0562"></ref>ในช่วงสมัยจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]]
 
== การเข้าร่วมทำรัฐประหาร ==
พลเอก เปรม เข้าร่วมรัฐประหารในประเทศไทย 2 ครั้ง ซึ่งนำโดยพลเรือเอก[[สงัด ชลออยู่]] ในวันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519|6 ตุลาคม 2519]] ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาล[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] ซึ่งในขณะนั้นเขาดำรงตำแหน่งเป็น"แม่ทัพภาคที่2" และ วันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520|20 ตุลาคม 2520]] ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาล[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] ซึ่งในขณะนั้นเขาดำรงตำแหน่งเป็น"ผู้ช่วย[[ผู้บัญชาการทหารบก]]"
พลเอก เปรม ร่วมทำรัฐประหารในประเทศไทย 2 ครั้ง ซึ่งนำโดย พลเรือเอก [[สงัด ชลออยู่]]
* วันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519|6 ตุลาคม พ.ศ. 2519]] ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาล[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] ซึ่งในขณะนั้นเขาดำรงตำแหน่งเป็น"แม่ทัพภาคที่2"
* วันที่ [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520|20 ตุลาคม พ.ศ. 2520]] ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาล[[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] ซึ่งในขณะนั้นเขาดำรงตำแหน่งเป็น"ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก"
 
== ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ==
[[ไฟล์:Prem Tinsulanonda.jpg|thumb|250px|พล.อ.เปรม ขณะปฏิบัติภารกิจเยือนต่างประเทศเมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]
 
พลเอก เปรม รับตำแหน่งรัฐมนตรีเป็นครั้งแรกในรัฐบาลพลเอก[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] ในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]] ปี 2520 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอย่างต่อเนื่องในรัฐบาลนั้น ในช่วงปลายรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/086/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)]</ref> ควบคู่กับตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก ในปี 2522
 
ในช่วงนั้น พลเอกเปรมได้รับการยอมรับจากหลายฝ่าย หลังจากพลเอก[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13|สภาผู้แทนราษฎร]]ทำการหยั่งเสียงเพื่อหาตัวผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และเลือกพลเอกเปรมเป็นนายกรัฐมนตรี โดย[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลเอกเปรมดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 16 ของไทย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอีกตำแหน่งหนึ่ง<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/A/040/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)]</ref>
 
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อจากพลเอก[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2523 ซึ่งตลอดระยะเวลาของพลเอกเปรมในการบริหารประเทศได้มีผลงานสำคัญมากมาย เช่น การปรับปรุงประมวลกฎหมายรัษฎากรและกฎหมายสรรพสินค้า เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคม การสร้างงานตามโครงการสร้างงานในชนบท (กสช.) การจัดตั้งคณะกรรมการร่วมภาครัฐบาล และเอกชน (กรอ.) เพื่อส่งเสริมบทบาททางการค้าและการลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศ การดำเนินการปราบปรามผู้ก่อการร้าย[[คอมมิวนิสต์ในประเทศไทย]]อย่างได้ผล โดยนำนโยบายการใช้ "[[การเมืองนำการทหาร]]" ตาม[[คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523]] เป็นผลให้[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]]อ่อนกำลังลงและสลายตัวไปในที่สุด
 
== ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ==
[[ไฟล์:Prem Tinsulanonda.jpg|thumb|250px|พล.อ.เปรม ขณะปฏิบัติภารกิจเยือนต่างประเทศเมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]
 
=== สมัยที่ 1 ===