ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอริช เฮิพเนอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
+ 3 หมวดหมู่ด้วยฮอทแคต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| birth_date = {{Birth date|1886|9|14|df=y}}
| death_date = {{death date and age|1944|8|8|1886|9|14|df=y}}
| birth_place = [[ฟรังฟวร์ทฟรังค์ฟวร์ท (โอเดอร์)|ฟรังฟวร์ทฟรังค์ฟวร์ท]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]] [[จักรวรรดิเยอรมัน]]
| death_place = ทัณฑสถานเพลิทเซินเซ กรุงเบอร์ลิน [[นาซีเยอรมนี]]
| image = [[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1971-068-10, Erich Hoepner.jpg|200px]]
| image_size =
บรรทัด 14:
* {{flag|Nazi Germany}} }}
| branch = กองทัพบก
| serviceyears = 1905–421905–1942
| rank = [[ไฟล์:Generaloberst_(Wehrmacht)_8.svg|33px]] [[พลเอกอาวุโส (เยอรมัน)|พลเอกอาวุโส]]
| commands =
บรรทัด 24:
[[พลเอกอาวุโส (เยอรมัน)|พลเอกอาวุโส]] '''เอริช เฮิพเนอร์''' ({{lang-de|Erich Hoepner}}) เป็นนายทหารบกเยอรมัน และเป็นนายพลเยอรมันในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เป็นบุคคลสำคัญต่อสาขาเครื่องกลทหารและสงครามยานเกราะในช่วงต้น
 
เฮิพเนอร์เป็นผู้บัญชาการกองทัพน้อยที่ 16 ใน[[การบุกครองโปแลนด์]]และ[[ยุทธการที่ฝรั่งเศส]] และต่อมาได้เป็นผู้บัญชาการกลุ่มยานเกราะที่ 4 ใน[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา]]เพื่อรุกรานสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1941 หน่วยทหารในบัญชาของเขาทำงานอย่างใกล้ชิดร่วมกับหน่วย[[ไอน์ซัทซ์กรุพเพิน]]เพื่อปฏิบัติ[[คำสั่งคอมมิสซาร์]] ({{lang|de|''Kommissarbefehl''}}) ซึ่งสั่งการให้ทหารเยอรมันทำการประหารผู้ตรวจการทางการเมืองของ[[กองทัพแดง]]ได้ทันทีเมื่อจับกุมได้ กลุ่มยานเกราะของเฮิพเนอร์พร้อมกลุ่มยานเกราะที่ 3 ได้เป็นหน่วยรุกนำไปยังกรุงมอสโกใน[[ยุทธการที่มอสโก|ปฏิบัติการไต้ฝุ่น]] แต่ก็ไม่สามารถยึดเมืองหลวงของโซเวียตได้
 
ค.ศ. 1942 หน่วยทหารของเฮิพเนอร์ประจำอยู่ในรัสเซียนานเกินไปแล้ว จึงได้ขออนุญาตถอนทัพจากผู้บัญชาการกองทัพกลุ่มกลางคนใหม่–จอมพล [[กึนเทอร์ ฟ็อน คลูเกอ]] จอมพลคลูเกอร์ขอนำเรื่องนี้ไปปรึกษากับฮิตเลอร์ก่อน อย่างไรก็ตาม เฮิพเนอร์รู้ว่าฮิตเลอร์คงไม่ยอมจึงชิงถอนทัพก่อนทราบผล ฮิตเลอร์โกรธเฮิพเนอร์มากจึงสั่งปลดเขาจากกองทัพ ริบเงินบำนาญ และสิทธิ์การประดับเครื่องยศและเหรียญตราทั้งหมด{{sfn|Lemay|2010|p=219}} เฮิพเนอร์จึงฟ้องร้องเป็นคดีความต่อศาลและชนะคดี{{sfn|Kershaw|2009|pp=837, 899}} ต่อมาเฮิพเนอร์เข้าไปมีส่วนร่วมใน[[แผนลับ 20 กรกฎาคม|แผนลับ 20 กรกฎา]]เพื่อล้มรัฐบาลฮิตเลอร์ และถูกพิพากษาประหารชีวิตในปี ค.ศ. 1944
 
==อ้างอิง==