ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนนครสวรรค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎บุคคลที่มีชื่อเสียง: ปรับปรุงเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37:
 
ปีพ.ศ. 2501 กระทรวงศึกษาธิการอนุมัติให้ ทำการสอนในระดับชั้นเตรียมอุดมศึกษาจึง เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนนครสวรรค์” แล้วย้ายสถานที่ตั้งโรงเรียนมาอยู่ ในบริเวณป่าสักเชิงเขากบอันเป็นสถานที่ตั้งของ โรงเรียนในปัจจุบัน
บริเวณนครสวรรค์ ป่าสัก เชิงเขากบนี้ เดิมเป็นที่ดินของราชพัสดุเต็มไปด้วยต้นสักที่อุดมสมบูรณ์ มีประชาชน ปลูกที่อยู่อาศัยกันเพื่อหาของป่า พระยา อรรถกวีสุนทร ซึ่งดำรงตำแหน่งสมุหเทศาภิบาลในขณะนั้น พร้อมด้วย[[ขุนวิวรณ์สุขวิทยา]] และอาจารย์เกษม พุ่มพวง ได้ร่วมกันจับจองไว้ เพื่อจะใช้เป็นสถานที่สร้างโรงเรียนเกษตรกรรมแห่งใหม่ (เดิม อยู่ที่สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ปัจจุบันนี้) แต่การสร้างโรงเรียนต้องระงับลงเนื่องจาก พระยาอรรถกวีสุนทรย้ายไปเนื่องจาก มีการยุบมณฑลนครสวรรค์ อย่างไรก็ตามยังถือว่าบริเวณป่าสักเป็นของกระทรวงศึกษาธิการอยู่
เพื่อจะใช้เป็นสถานที่สร้างโรงเรียนเกษตรกรรมแห่งใหม่ (เดิม อยู่ที่สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ปัจจุบันนี้) แต่การสร้างโรงเรียนต้องระงับลงเนื่องจาก พระยาอรรถกวีสุนทรย้ายไปเนื่องจาก มีการยุบมณฑลนครสวรรค์ อย่างไรก็ตามยังถือว่าบริเวณป่าสักเป็นของกระทรวงศึกษาธิการอยู่
 
ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2479 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พร้อมด้วย [[หลวงบูรกรรมโกวิทย์]] ได้ มาราชการที่จังหวัดนครสวรรค์ ขุนวิวรณ์สุขวิทยา จึงได้พูดปรารภกับจอมพล ป. พิบูลสงครามว่า โรงเรียนนครสวรรค์ ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณวัดหัวเมืองมีพื้นที่ คับแคบมาก ต้อง การย้ายมาอยู่ในบริเวณป่าสักเชิงเขากบ และได้รับการเห็นชอบจากนายกรัฐมนตรี ดังนั้น ขุนวิวรณ์สุขวิทยา จึงได้นำเรื่องเสนอ ม.ล.ปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อ ของบประมาณก่อสร้าง ได้รับงบประมาณจำนวน 4 ล้านบาท ยังไม่ทันดำเนินการก็เกิดการปฏิวัติ ภายหลังขุนวิวรณ์สุขวิทยา นายอวยชัย ธนศรี ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพร้อมด้วยนายโชติ สุวรรณชิน ครู ใหญ่โรงเรียนนครสวรรค์ในขณะนั้น ได้ริเริ่มดำเนินการสร้างต่อ แต่เนื่องจากเทศบาลเมืองนครสวรรค์ ประสงค์จะใช้ที่บริเวณนี้ก่อสร้างสวนสาธารณะ ผู้ ริเริ่มก่อสร้างโรงเรียน จึงประสานงานขอความร่วมมือจากศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน ผู้ปกครอง และประชาชนเรียกร้องด้วยการเขียนข้อความ
ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2479 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พร้อมด้วย หลวงบูรกรรมโกวิทย์ ได้ มาราชการที่จังหวัดนครสวรรค์
และเดินขบวนอย่างสงบในตลาดปากน้ำโพ ขอ ใช้บริเวณป่าสักเป็นสถานที่ก่อสร้างโรงเรียน จนในที่สุดได้รับการอนุญาตจากทางราชการการก่อสร้างโรงเรียนครั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติงบประมาณสร้างรั้วและบ้านพักครู จำนวน 2 หลัง เป็นเงิน 100,000 บาท
ขุนวิวรณ์สุขวิทยา จึงได้พูดปรารภกับจอมพล ป. พิบูลสงครามว่า โรงเรียนนครสวรรค์ ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณวัดหัวเมืองมีพื้นที่
คับแคบมาก ต้อง การย้ายมาอยู่ในบริเวณป่าสักเชิงเขากบ และได้รับการเห็นชอบจากนายกรัฐมนตรี ดังนั้น ขุนวิวรณ์สุขวิทยา จึงได้นำเรื่องเสนอ ม.ล.ปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อ ของบประมาณก่อสร้าง
ได้รับงบประมาณจำนวน 4 ล้านบาท ยังไม่ทันดำเนินการก็เกิดการปฏิวัติ ภายหลังขุนวิวรณ์สุขวิทยา นายอวยชัย ธนศรี
ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพร้อมด้วยนายโชติ สุวรรณชิน ครู ใหญ่โรงเรียนนครสวรรค์ในขณะนั้น ได้ริเริ่มดำเนินการสร้างต่อ
แต่เนื่องจากเทศบาลเมืองนครสวรรค์ ประสงค์จะใช้ที่บริเวณนี้ก่อสร้างสวนสาธารณะ ผู้ ริเริ่มก่อสร้างโรงเรียน
จึงประสานงานขอความร่วมมือจากศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน ผู้ปกครอง และประชาชนเรียกร้องด้วยการเขียนข้อความ
และเดินขบวนอย่างสงบในตลาดปากน้ำโพ ขอ ใช้บริเวณป่าสักเป็นสถานที่ก่อสร้างโรงเรียน จนในที่สุดได้รับการ
อนุญาตจากทางราชการการก่อสร้างโรงเรียนครั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติงบประมาณสร้างรั้วและบ้านพักครู
จำนวน 2 หลัง เป็นเงิน 100,000 บาท
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2505 จึงอนุมัติงบประมาณ 800,000 บาท สร้างอาคารไม้ 2 ชั้น จังหวัดและกรรมการศึกษาพร้อมด้วยพ่อค้าประชาชน เห็นว่าควรสร้างอาคารเป็น ตึก จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการ โดยมี
นายสวัสดิวงศ์ ปฏิทัศน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานกกรมการ ร่วมกับอาจารย์โชติ สุวรรณชิน และผู้ใหญ่อีกหลายคน ได้ จัดหาเงินงบประมาณในการก่อสร้างจากผู้มีจิตศรัทธา ได้เงินจำนวน 600,000.00 บาท สมทบกับงบประมาณที่ได้รับก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรกโดยทำพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2504 โดย มี ม.ล.ปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ โรงเรียนนครสวรรค์ในพื้นที่ใหม่และเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน คือ เลขที่ 173 ถนนมาตุลี อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่ทั้งหมด 38 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา มีอาจารย์โชติ สุวรรณชิน เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรก และได้พัฒนามาเป็นลำดับ จน กระทั่งในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าโครงการโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบประสม(คมส)รุ่นแรก
จังหวัดและกรรมการศึกษาพร้อมด้วยพ่อค้าประชาชน เห็นว่าควรสร้างอาคารเป็น ตึก จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการ โดยมี
เปิดทำการสอนทั้งวิชาสามัญและสายอาชีพ ให้นักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจและความสามารถ ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 และในปี พ.ศ. 2524
นายสวัสดิวงศ์ ปฏิทัศน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานกกรมการ ร่วมกับอาจารย์โชติ สุวรรณชิน และผู้ใหญ่อีกหลายคน ได้ จัดหาเงินงบประมาณในการก่อสร้างจากผู้มีจิตศรัทธา ได้เงินจำนวน 600,000.00 บาท
ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงหลักสูตรใหม่ โรงเรียน ได้รับเลือกให้เป็นโรงเรียนร่วมพัฒนาการใช้หลักสูตรในปี พ.ศ. 2531 โดยเริ่มใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2533 และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ในปี พ.ศ. 2533 จนถึงปี พ.ศ. 2544 ในปี พ.ศ. 2545 ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำในการจัดทำและใช้หลักสูตรสถานศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 นอกจากนั้นในปี พ.ศ. 2536 โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้จัดการเรียนการสอน 2 โครงการ คือ โครงการลงทะเบียนเรียนตามเวลาและความสามารถในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ลบส.)โดย นักเรียนสามารถลือกลงทะเบียนเรียนให้จบหลักสูตรก่อน 3 ปี
สมทบกับงบประมาณที่ได้รับก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรกโดยทำพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2504
และโครงการส่งเสริมความสามารถด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยม ศึกษาซึ่งกรมสามัญศึกษาคัดเลือกเขตการศึกษาละ 1 โรงเรียน ต่อ มาได้จัดให้มีการเรียนการสอนโครงการดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิกในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยรับนักเรียนที่มีความสามารถตามเกณฑ์เข้าเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปี พ.ศ 2545 ได้ รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนร่วมพัฒนาในการจัดทำ และใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกระทรวงศึกษาธิการ โดย ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 เป็นต้นมา
โดย มี ม.ล.ปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ โรงเรียนนครสวรรค์ในพื้นที่ใหม่และเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน คือ เลขที่ 173 ถนนมาตุลี อำเภอเมืองนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์ พื้นที่ทั้งหมด 38 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา มีอาจารย์โชติ สุวรรณชิน เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรก และได้พัฒนามาเป็นลำดับ จน กระทั่งในปี พ.ศ. 2511 ได้เข้าโครงการโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบประสม(คมส)รุ่นแรก
เปิดทำการสอนทั้งวิชาสามัญและสายอาชีพ ให้นักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจและความสามารถ
ต่อ
 
ในปีการศึกษา 2552 ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนแกนนำการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และในปีการศึกษา 2553 ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ Spirit of ASEAN โดยให้จัดตั้งเป็นศูนย์อาเซียนศึกษาและโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล
มาในปี พ.ศ. 2521 ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 และในปี พ.ศ. 2524
ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงหลักสูตรใหม่
โรงเรียน ได้รับเลือกให้เป็นโรงเรียนร่วมพัฒนาการใช้หลักสูตรในปี พ.ศ. 2531 โดยเริ่มใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น
พุทธศักราช 2521 ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2533 และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ในปี พ.ศ. 2533 จนถึงปี พ.ศ. 2544 ในปี พ.ศ. 2545 ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกน
นำในการจัดทำและใช้หลักสูตรสถานศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 นอก
จากนั้นในปี พ.ศ. 2536 โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้จัดการเรียนการสอน 2 โครงการ คือ
โครงการลงทะเบียนเรียนตามเวลาและความสามารถในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ลบส.)โดย นักเรียนสามารถลือกลงทะเบียนเรียนให้จบหลักสูตรก่อน 3 ปี
และโครงการส่งเสริมความสามารถด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยม ศึกษาซึ่งกรมสามัญศึกษาคัดเลือกเขตการศึกษาละ 1 โรงเรียน ต่อ มาได้จัดให้มีการเรียนการสอนโครงการดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิก
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยรับนักเรียนที่มีความสามารถตามเกณฑ์เข้าเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปี พ.ศ 2545
ได้ รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนร่วมพัฒนาในการจัดทำ และใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกระทรวงศึกษาธิการ โดย ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 เป็นต้นมา
 
ในปีการศึกษา 2552 ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนแกนนำการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
และในปีการศึกษา 2553 ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ Spirit of ASEAN โดยให้จัดตั้งเป็นศูนย์อาเซียนศึกษาและโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล
 
== ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียนนครสวรรค์ ==