ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
David Supervid (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1,311:
 
*'''บุกเบิกงานวิจัยเรื่อง ผลึกเหลวอวกาศ (Liquid crystals) ในประเทศไทย'''และ'''ลงนามความตกลงร่วมมือวิจัยด้านผลึกเหลวอวกาศร่วมกับ[[องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ]] หรือ องค์การนาซา (NASA)''' โดยร่วมมือวิจัยทั้งในภาคพื้นดินและในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วงบนอวกาศ ณ สถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station)<ref>กรุงเทพธุรกิจ [http://inews.bangkokbiznews.com/read/382457 ‘ผลึกเหลวอวกาศ’ วิจัยไทยร่วมนาซ่า]. เรียกดูวันที่ 2019-11-04</ref><ref>เดลินิวส์. ไอที-วิทยาการ. ไทยร่วมวิจัย ‘ลิคควิดคริสตัล’ ในอวกาศ. ฉบับวันพฤหัสบดี ที่ 19 กันยายน 2562</ref><ref>ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มก. [http://physics.sci.ku.ac.th/?q=node/225 อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ ม.เกษตรศาสตร์ ร่วมวิจัย Liquid crystal ในอวกาศ กับ NASA]. เรียกดูวันที่ 2019-11-04</ref>
 
* '''ค้นพบ “แมลงปอเสือปลายงอนทองผาภูมิ” แมลงปอชนิดใหม่ของโลก''' แมลงปอชนิดนี้ถูกตั้งชื่อว่า ‘แมลงปอเสือปลายงอนทองผาภูมิ’ (Stylogomphus thongphaphumensis Chainthong, Sartori & Boonsoong) จัดอยู่ในสกุล Stylogomphus และอยู่ในวงศ์ Gomphidae ค้นพบครั้้งแรกที่บริเวณลำธารห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [https://www.ku.ac.th/web2012/index.php?c=adms&m=selbannerh_th&time=20200413111054&page=%A2%E8%D2%C7%CA%D2%C3%E1%C5%D0%A1%D4%A8%A1%C3%C3%C1&ip=10&load=tab5&lang=thai&id=1253&id1=0 นิสิตปริญญาเอก มก. ค้นพบแมลงปอเสือปลายงอนทองผาภูมิ ชนิดใหม่ของโลก] เรียกดูวันที่ 2020-04-15</ref><ref>ไทยรัฐฉบับพิมพ์. [https://www.thairath.co.th/news/society/1820069 แมลงปอเสือปลายงอนชนิดใหม่โลก] เรียกดูวันที่ 2020-04-15</ref><ref>Shambhala TS. [https://jarm.reviews/social/141740 แมลงปอหายากอันดับโลก] เรียกดูวันที่ 2020-04-15</ref><ref>World News LLC. [https://theworldnews.net/th-news/aemlngp-esuue-plaayng-nchnidaihmolk แมลงปอเสือปลายงอนชนิดใหม่โลก] เรียกดูวันที่ 2020-04-15</ref><ref>Dailynews Online. [https://headtopics.com/th/360936363626363163004-12403430 นิสิตป.เอก ม.เกษตรฯ เก่ง ค้นพบแมลงปอชนิดใหม่ของโลก] เรียกดูวันที่ 2020-04-15</ref>
 
* '''ค้นพบ “ชมพูไพร” พืชชนิดใหม่ของโลก''' พืชชนิดนี้ถูกตั้งชื่อว่า ‘ชมพูไพร’ (Thunbergia impatienoides Suwanph. & S. Vajrodaya) เป็นไม้ประดับ จัดอยู่ในวงศ์เหงือกปลาหมอและอยู่ในสกุลเดียวกันกับรางจืด ลักษณะเป็นไม้เลื้อย ดอกสีชมพูอมม่วง ตรงกลางดอกจะมีสีขาวอมเหลือง ดอกตูมลักษณะจะคล้ายกับดอกกุหลาบแรกแย้ม สามารถพัฒนาเป็นไม้ประดับทางเศรษฐกิจได้ <ref>ห้องสมุดเพื่อเกษตรกรไทย (Thai Farmers’ Library) [http://thaifarmer.lib.ku.ac.th/news/5cde3a13d63af714e9684979 อาจารย์พฤกษศาสตร์ มก. ค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลก "ชมพูไพร"] เรียกดูวันที่ 2019-06-06 </ref><ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [https://www.ku.ac.th/web2012/index.php?c=adms&m=seltab_th&time=20190606110639&page=%A2%E8%D2%C7%CA%D2%C3%E1%C5%D0%A1%D4%A8%A1%C3%C3%C1&page1=%A2%E8%D2%C7%C1%CB%D2%C7%D4%B7%C2%D2%C5%D1%C2&ip=10&load=tab&lang=thai&id=3700&id1=0 อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลก] เรียกดูวันที่ 2019-06-10 </ref><ref>ไทยรัฐฉบับพิมพ์. [https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1607400 พืชชนิดใหม่: “ดอกชมพูไพร”] เรียกดูวันที่ 2019-07-26</ref>