ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีโทรทัศน์ไอทีวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8727387 โดย 115.87.4.127ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ชื่ออื่น|สถานีโทรทัศน์|บริษัทมหาชน|ไอทีวี}}
{{ระวังสับสน|สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี}}''และ [[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]]''
{{ระวังสับสน|สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส}}
 
{{กล่องข้อมูล สถานีโทรทัศน์
เส้น 26 ⟶ 25:
| former names =
| replaced names =
| replaced by names = [[สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี]]<br/>และ[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]]
| sister names =
| timeshift names =
เส้น 38 ⟶ 37:
}}
 
'''สถานีโทรทัศน์ไอทีวี''' ({{lang-en|Independent Television}} ชื่อย่อ: itv) เป็นอดีตสถานีโทรทัศน์TVภาคพื้นดินที่ออกอาศอากาศในระบบภาพ[[ยูเอชเอฟ]] ไทยทีวีแห่งที่.6 ของ[[ประเทศไทย]]ก่อตั้งโดย [[บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)]] สถานีโทรทัศน์ในยุคปัจจุบันนี้คือ "[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]]" สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ได้เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2539]] เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ''ข่าวภาคค่ำประจำวัน''เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรก ที่เรียกรายการข่าวโดยไม่มีคำว่าภาคและมีชื่อสถานีเรียกทุกครั้ง เช่น ข่าวเช้าไอทีวี ข่าวเที่ยงไอทีวี ข่าวค่ำไอทีวี เป็นต้น เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีข่าวและสาระความรู้ โดย[[ผู้ประกาศข่าว]]คู่แรกของสถานี คือ [[กิตติ สิงหาปัด]] และ [[เทพชัย หย่อง]] ออกอากาศทางช่อง หมายเลข26<ref>[http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=11397 ขุดกรุ:จากสถานี HS1PJ ถึงโทรทัศน์สีสเตอริโอ](บางส่วน) จากเว็บไซต์รถไฟไทยดอตคอม</ref>และช่องหมายเลข 29 โดยมี [[สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี]] (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็น[[สถานีโทรทัศน์]]ภาคพื้นดินที่ก่อตั้งเป็นแห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งของ[[ประเทศไทย]] จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ [[7 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหนด
 
== ประวัติ ==
เส้น 73 ⟶ 72:
* ร่วมถ่ายทอดสด การแข่งขัน[[ฟุตบอลโลก 2002|ฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ปี 2002]] จากประเทศ[[ญี่ปุ่น]]และ[[เกาหลีใต้]] กับ[[สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์]] และ[[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]]
* ร่วมถ่ายทอดสด การแข่งขัน[[กีฬา]][[เอเชียนเกมส์]] [[เอเชียนเกมส์ 2002|ครั้งที่ 14]] จาก[[ปูซาน|เมืองปูซาน]] [[เกาหลีใต้|สาธารณรัฐเกาหลี]] กับ[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]], สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ และ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย
* ร่วมจัดตั้ง ''โครงการโทรทัศน์ชุมชนแม่โขง'' (MCTV - Maekong Community Television) กับ[[สถานีโทรทัศน์]]ใน[[รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้|กลุ่มประเทศ]]ลุ่ม[[แม่น้ำโขง]] 5 แห่งคือ [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งประเทศจีน|ซีซีทีวี]] ([[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]), [[สถานีโทรภาพแห่งชาติลาว|สทลทชล.]] ([[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]]), [[สถานีโทรทัศน์กองยุทธพลเขมรภูมินทร์|ททขภม.5]] ([[ราชอาณาจักรกัมพูชา]]) และ [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศเวียดนาม|วีทีวี]] ([[สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม]])
* ผลิตและเผยแพร่รายงานข่าวทางอากาศเป็นสถานีแรก โดยใช้[[เฮลิคอปเตอร์]]เป็นพาหนะในการสำรวจพื้นที่ และมีชื่อรายการว่า ''[[ไอทีวี สกาย นิวส์|สกาย นิวส์]]'' (Sky News)
* ร่วมออกแบบ ''[[การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย|ตราสัญลักษณ์แสดงระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไทย]]'' และเป็นแบบที่ได้รับการคัดเลือกจาก[[กรมประชาสัมพันธ์]] ให้ใช้จริงในการออกอากาศในระยะแรก ([[พ.ศ. 2549]]-[[พ.ศ. 2550]]) โดยยังคงเป็นต้นแบบของตราสัญลักษณ์ที่ใช้ในระยะต่อมาจนถึงปัจจุบันด้วย
* การให้บริการนำเสนอประชาสัมพันธ์ข่าวสาร และโฆษณาต่างๆ ออกอากาศทางจอมอนิเตอร์ระบบ LED ใช้ชื่อว่า ''ITV News on New Media'' ในสถานที่สาธารณะ สถานีรถไฟฟ้า และอาคารสำนักงานต่างๆ ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งบริการมาจนถึงยุคของ[[สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี]]
* เป็นสถานีที่ทำการถ่ายทอดสด พิธีการปล่อยดาวเทียมสู่อวกาศและเริ่มสัญญาณของ [[ดาวเทียมไอพีสตาร์]] ของ [[ไทยคม]] เมื่อวันที่ [[11 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2548]]
* เป็นสถานีโทรทัศน์ที่เผยแพร่รายงานข้อมูลการซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยแถบอักษรวิ่งแห่งที่สองของประเทศไทย ตั้งแต่สมัยยุคเริ่มแรกของ ITVจนถึงสมัยช่วง องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย หรือ สถานีโทรทัศน์ ThaiPBSไทยพีบีเอส ยุคเริ่มแรกของการแพร่ภาพออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2551(ในนามชื่อ "ทีวีไทยทีวีสาธารณะ") ก็ได้มีการปรับรูปแบบของแถบข้อมูลตลาดหุ้นในบางส่วน ก่อนที่ช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนในปีเดียวกัน ได้ปรับรูปแบบแสดงข้อมูลแถบวิ่งข้อมูลหุ้นใหม่อีกครั้งหนึ่งเพื่อให้สอดคล้องรูปแบบโทรทัศน์สาธารณะ{{อ้างอิง}}
* เป็นสถานีที่เริ่มต้นการเผยแพร่แถบข้อความสั้นจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ชม (SMS) เป็นสถานีแรกของประเทศไทย โดยปรากฏครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] {{อ้างอิง}} ซึ่งภายหลังสถานีโทรทัศน์หลายแห่ง ได้ใช้แถบข้อความนี้มาปรากฏผ่านทางรายการโทรทัศน์ไทย หลายรายการ