ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Minorax (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2403:6200:8813:7B6:2965:4ABF:6D07:22F6 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Hokey176
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.3]
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เส้นทางเดินรถไฟ
|name = รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม
|color = {{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม}}
| logo = MRT (Bangkok) Orange Logo.svg
| logo_width = 80px
| logo_alt =
|image = Capture-20130508-111808.jpg
|imagesize = 300px
|caption = ภาพจำลองวีดิทัศน์ในปี 2556
|type = [[รถไฟฟ้ายกระดับ]] และ[[รถไฟฟ้าใต้ดิน]]
|system = [[รถไฟฟ้ามหานคร]]
|status = กำลังก่อสร้าง (ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ - มีนบุรี)
|locale = [[กรุงเทพมหานคร]], [[ประเทศไทย]]
|start = [[สถานีบางขุนนนท์]]
|end = [[สถานีแยกร่มเกล้า]]
|stations = 17 (ก่อสร้าง)<br>12 (โครงการ)<br>29 (ทั้งโครงการ)
|routes =
|ridership =
|open = ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - มีนบุรี พ.ศ. 2567 <br> ช่วงบางขุนนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2570
|close =
|owner = [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]
|operator = รอเอกชนร่วมประมูล
|character =
|stock = ยังไม่เปิดเผย
|linelength = {{convert|35.9|km|mi|sp=us}}
|tracklength =
|notrack =
|gauge = {{RailGauge|1435|al=on|allk=on}}
|el = [[รางที่สาม]]
|speed = {{convert|80|km/h|mph|abbr=on}}
|elevation =
|map = {{MRT Orange Line route}}
|map_state = show
}}
'''รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (บางขุนนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - แยกร่มเกล้า)''' ({{lang-en|Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line}}) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบ[[รถไฟฟ้ามหานคร]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง|โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล]] ดำเนินการโดย[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้าง[[ใต้ดิน]] และ[[ยกระดับ]] มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากบริเวณจุดตัดทางรถไฟสายสายธนบุรี (ทางรถไฟสายใต้เดิม) แล้วลอดใต้[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เข้าสู่ย่านเมืองเก่า ย่านใจกลางเมืองก่อนออกไปยัง[[ชุมชนประชาสงเคราะห์]]และออกสู่ย่านชานเมือง[[ถนนรามคำแหง]] มาสิ้นสุดเส้นทางที่ชานเมืองด้านทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานครบริเวณจุดตัดถนนรามคำแหงกับถนนสุวินทวงศ์
 
เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มเดิมช่วงสามเสน-บางกะปิ มาต่อขยายเส้นทางจากสามเสน (ซังฮี้) ไปยังบางบำหรุ กลายเป็นเส้นทางบางบำหรุ-บางกะปิที่กำหนดให้เป็นสายสีส้ม บรรจุในแผนแม่บทฯ ของ[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร|สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 โดยในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการแก้ไขแนวเส้นทางบางส่วนโดยสลับกับโครงข่ายในเมืองของ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มจากเดิมกลายเป็นตลิ่งชัน - มีนบุรี และใน พ.ศ. 2554 ก็ได้มีการแก้ไขแบบแผนอีกครั้ง โดยตัดเส้นทางจากเดิมที่จะไปสิ้นสุดที่ตลิ่งชัน ให้มาสุดอยู่แค่แยกจรัญสนิทวงศ์เนื่องจากเส้นทางทับซ้อนกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน|สายสีแดงอ่อน]]ช่วง[[ตลิ่งชัน]]-[[ศิริราช]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มเหลือเพียงแค่ บางขุนนนท์ - มีนบุรี
 
ปัจจุบัน โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ได้แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือเส้นทางตะวันตกช่วง[[สถานีบางขุนนนท์|บางขุนนนท์]] - [[สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย|ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]] และเส้นทางตะวันออกช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - บางกะปิ - มีนบุรี - [[สถานีแยกสุวินทวงศ์|แยกสุวินทวงศ์]] โดยปัจจุบันอยู่ในระหว่างการก่อสร้างเส้นทางช่วงตะวันออกเป็นอันดับแรก คาดว่าจะเปิดใช้งานได้อย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2567 ส่วนโครงการช่วงตะวันตกอยู่ในระหว่างการคัดเลือกเอกชนเข้าดำเนินการ คาดว่าจะเปิดใช้งานได้อย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2570
 
==ภาพรวม==
เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดินและยกระดับ มีแนวเส้นทางที่เชื่อมโยงการเดินทางในแนวตะวันออก-ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากจุดตัดทางรถไฟสายธนบุรี (สายใต้เดิม) กับถนนจรัญสนิทวงศ์ ลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่ใจกลางเกาะรัตนโกสินทร์ ผ่านย่านที่สำคัญในพื้นที่เมืองเก่าเขตดุสิต และเขตพระนคร ผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น [[โรงพยาบาลศิริราช]] [[ท้องสนามหลวง]] [[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]] จากนั้นเข้าสู่ย่านการค้าใจกลางเมืองบริเวณ[[แยกประตูน้ำ]] แล้วมุ่งขึ้นทางเหนือเข้าสู่ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร และ[[ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร]]แห่งใหม่ (อาคารธานีนพรัตน์) ชุมชนประชาสงเคราะห์ ออกสู่ถนนรัชดาภิเษก ถนนพระราม 9 และถนนรามคำแหง สิ้นสุดโครงการบริเวณชานเมืองทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานครบริเวณจุดตัดถนนรามคำแหงกับถนนสุวินทวงศ์ รวมระยะทางประมาณ 34.8 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่เน้นการขนส่งผู้โดยสารจากชานเมืองทิศตะวันออกเข้าสู่ใจกลางเมืองและย่านเมืองเก่าทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานครได้อย่างรวดเร็ว
เส้น 138 ⟶ 178:
| colspan = "9" |
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR01'''||[[ศาลายาสถานีบางขุนนนท์|บางขุนนนท์]] || SalaBang Khun YaNon || 00.00 || rowspan = "2" align="center" | ใต้ดิน|| ''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน}}>[[สถานีบางขุนนนท์ (รถไฟฟ้าชานเมือง)|สถานีศาลายาบางขุนนนท์]]</font>''<br>''{{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}>[[สถานีศาลายาบางขุนนนท์]]</font>'' || บางขุนศรี || rowspan = "2" | [[เขตบางกอกน้อย|บางกอกน้อย]] || rowspan = "2" |[[กรุงเทพมหานคร]]
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR02'''||[[อาคารรักษาพยาบาล และสถานีรถไฟร่วมศิริราช|ศิริราช]] || Siriraj || 01.16 ||''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน}}>[[อาคารรักษาพยาบาล และสถานีรถไฟร่วมศิริราช|สถานีศิริราช]]</font>''<br>'''{{BTS Lines|เรือด่วนเจ้าพระยา}} <font color={{BTS color|เรือด่วนเจ้าพระยา}}>[[ท่าวังหลัง|ท่าวังหลัง (พรานนก)]]</font>''' || ศิริราช