ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเขมราฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Billner2009 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
}}
 
'''เขมราฐ''' แปลว่าหมายถึง ดินแดนแห่งความเกษมสุข<ref>อำเภอเขมราฐ อ่านว่า เข-มะ-ราด. เมือง "เขมราษฎร์ธานี" ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็น "เขมราฐ" ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 แต่ก็มีความหมายเดียวกัน คือ "ดินแดนแห่งความเกษมสุข" (ราษฎร์ = รัฐ, รัฎฐ์ = แว่น แคว้น หรือ ดินแดน ส่วนคำว่า "เขม" หมายถึง ความเกษมสุข) (ที่มา : นามานุกรมภูมิศาสตร์จังหวัดอุบลราชธานี สำนักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี) </ref> เป็นอำเภอหนึ่งใน[[จังหวัดอุบลราชธานี]] โดยมีที่ตั้งอยู่ริมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มี[[แม่น้ำโขง]]เป็นแม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่านบริเวณอำเภอ อำเภอเขมราฐอยู่ริมเป็นอำเภอที่มีอาณาเขตติดกับแม่น้ำโขงเป็นระยะทางยาวกว่า 40 กิโลเมตร ซึ่งลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือเป็นพรมแดนทางธรรมชาติที่สำคัญ โดยฝั่งตรงข้ามคือ เมืองสองคอน แขวงสุวรรณเขต ประเทศลาว เขมราฐเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพแม่น้ำโขงที่สวยงาม หาดทรายที่มีชื่อเสียงคือ หาดทรายสูง และ จะมีการประเพณีที่สำคัญของอำเภอคือประเพณีแข่งเรือยาวอำเภอเขมราฐซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในฤดูน้ำหลาก
== ประวัติศาสตร์ ==
เมื่อปี พ.ศ. 2357 เจ้าอุปราช (ก่ำ) แห่งเมืองอุบลราชธานี ขอแยกออกมาตั้งบ้านเมืองใหม่ที่บ้านโคกก่งดงพะเนียง ต่อมา[[เจ้าพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าทิดพรหม)]] เจ้าผู้ครองเมืองอุบลราชธานี พระองค์ที่ 2 (ต้นสกุลพรหมวงศานนท์) จึงมีใบบอกลงไปกราบบังคมทูลทรงพระกรุณาทราบ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] รัชกาลที่ 2 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะบ้านโคกก่งดงพะเนียง ขึ้นเป็นเมือง พระราชทานนามว่า '''เขมราษฎร์ธานี''' ดำรงสถานะเทียบเท่าหัวเมืองชั้นเอกขึ้นตรงต่อ[[กรุงเทพมหานคร]] ตามที่พระพรหมวรราชสุริยวงศ์กราบบังคมทูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้เจ้าอุปราช (ก่ำ) ซึ่งเป็นพระโอรสของ[[เจ้าพระวอ|เจ้าพระวรราชภักดี]] พระนัดดา[[เจ้าปางคำ|พระเจ้าสุวรรณปางคำ]] อันสืบมาจากราชวงศ์[[ราชวงศ์สุวรรณปางคำ|สุวรรณปางคำ]] เป็นที่[[พระเทพวงศา (เจ้าก่ำ)]] เจ้าผู้ครองเมืองเขมราษฎร์ธานีพระองค์แรก (พ.ศ. 2357-2369) ปกครองเมืองเขมราษฎร์ธานีโดยร่มเย็นสืบมา
 
ชื่อบ้านนามเมือง '''เขมราษฎร์ธานี''' หรือ '''เขมราฐ''' แต่ก็มีความหมายเดียวกันคือ
* '''เขม''' เป็นคำมาจากภาษาบาลี หมายถึง ความเกษมสุข ซึ่งหมายความตรงกับโดยคำที่เทียบเคียงคือคำว่า "เกษม" ที่มาจากภาษาสันสกฤต
* '''ราษฎร''' เป็นคำที่มาจากภาษาลีสันสกฤตมีความหมายตรงกับ “รัฐ” หรือ “รัฏฐ” ซึ่งมาจากภาษาบาลี หมายถึง แว่นแคว้น หรือดินแดนนั้นเอง
ดังนั้น คำว่า "เขมราษฎร์ธานี" หรือ "เขมราฐ" จึงมีความหมายรวมว่า '''ดินแดนแห่งความเกษมสุข'''
 
ระหว่างปี พ.ศ. 2369 เกิดศึกระหว่างกรุงเทพมหานครกับนครเวียงจันทน์ เจ้าอนุวงศ์ ได้บัญชาการให้เจ้าราชบุตรแห่งนครจำปาศักดิ์ ยกทัพมายึดเมืองเขมราษฎร์ธานี แลขอให้พระเทพวงศา (เจ้าก่ำ) เข้าร่วมตีกรุงเทพฯ ด้วย แต่ทว่าพระเทพวงศานั้นไม่ยินยอมจะเข้าด้วยกับแผนการ และการศึกครั้งนี้ จึงเป็นเหตุให้พระเทพวงศาถูกจับประหารชีวิต คล้ายกับเหตุการณ์ของพระยาภักดีชุมพล (แล) แห่งเมืองชัยภูมิ จึงทำให้เมืองเขมราษฎร์ธานีว่างเว้นเจ้าผู้ครองเมือง โดยพระเทพวงศา (เจ้าก่ำ) นั้น ท่านมีบุตร และบุตรี 4 คน คือ
บรรทัด 105:
 
== ภูมิประเทศ ==
อำเภอเขมราฐมีสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงสลับเนินเขา ลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย และมีสภาพเป็นดินเหนียวตาไหล่เขา มีป่าไม้เบญจพรรณอยู่ทั่วไปเป็นลักษณะป่าโปร่ง มี[[แม่น้ำโขง]]ไหลผ่านตามแนวชายแดนด้านทางทิศเหนือ และทิศตะวันออกตลอดแนวประมาณ 43 กิโลเมตร และมี[[ห้วยบังโกย]] ไหลผ่านตัวเมืองเขมราฐอีกด้วย ส่วนฤดูกาล โดยทั่วไป มี 3 ฤดูคือ
* '''ฤดูร้อน'''
 
ช่วงประมาณปลายเดือนมีนาคม - ต้นเดือนพฤษภาคม อากาอากาศจะแห้ง และมีลักษณะอากาศร้อนอบอ้าวโดยทั่วไป
* '''ฤดูฝน'''
 
ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม - ต้นเดือนตุลาคม มีฝนตกโดยทั่วไปในท้องที่และมีน้ำหลาก
* '''ฤดูหนาว'''
 
ประมาณต้นเดือนพฤศจิกายน - เดือนมีนาคม อากาศจะเริ่มเย็นลง จนกระทั่งมีอากาศหนาว
ประมาณต้นเดือนพฤศจิกายน - เดือนมีนาคม อุณหภูมิในอากาศค่อย ๆ ลดระดับลง เนื่องจากได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
 
== การปกครองส่วนภูมิภาค ==
เส้น 177 ⟶ 180:
=== รถยนต์ ===
 
**'''เส้นทางที่ 1''' [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1]] (ถนนพหลโยธิน) ผ่าน[[จังหวัดปทุมธานี]] [[จังหวัดสระบุรี]] เลี้ยวซ้ายเข้าสู่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2]] ผ่าน[[อำเภอปากช่อง]] [[อำเภอสีคิ้ว]] [[อำเภอสูงเนิน]] [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]] [[อำเภอโนนสูง]] [[อำเภอโนนแดง]] [[อำเภอประทาย]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] และเลี้ยวขวาเข้าสู่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202]](ถนนอรุณประเสริฐ) ผ่าน[[อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์]] [[อำเภอพุทธไธสง|อำเภอพุทธไธสงค์]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย]] [[จังหวัดมหาสารคาม]] [[อำเภอเกษตรวิสัย]] [[อำเภอสุวรรณภูมิ]] [[จังหวัดร้อยเอ็ด]] [[อำเภอเมืองยโสธร]] [[อำเภอป่าติ้ว]] [[จังหวัดยโสธร]] [[อำเภอเมืองอำนาจเจริญ]] [[อำเภอปทุมราชวงศา]] และเข้าสู่[[อำเภอเขมราฐ]] รวมระยะทาง 654 กิโลเมตร
** '''เส้นทางที่ 2''' [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1]] (ถนนพหลโยธิน) ผ่าน[[จังหวัดปทุมธานี]] [[จังหวัดสระบุรี]] เลี้ยวซ้ายเข้าสู่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2]] ผ่าน[[อำเภอปากช่อง]] [[อำเภอสีคิ้ว]] [[อำเภอสูงเนิน]] เลี้ยวขวาเข้าสู่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24]] (ถนนโชคชัย-เดชอุดม) ผ่าน[[อำเภอปักธงชัย]] [[อำเภอโชคชัย]] [[อำเภอหนองบุนมาก]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[อำเภอหนองกี่]] [[อำเภอนางรอง]] [[อำเภอประโคนชัย]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[อำเภอปราสาท]] [[อำเภอสังขะ]] [[จังหวัดสุรินทร์]] [[อำเภอขุขันธ์]] [[อำเภอกันทรลักษ์]] [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2178]] (ถนนวารินชำราบ-กันทรลักษ์) ผ่าน[[อำเภอเบญจลักษ์]] [[อำเภอโนนคูณ]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] [[อำเภอสำโรง]] [[อำเภอวารินชำราบ]] [[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]] เข้าสู่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2050]] (ถนนอุบลราชธานี-ตระการพืชผล-เขมราฐ) ผ่านอำเภอเหล่าเสือโก้ก อำเภอตระการพืชผล และเข้าสู่[[อำเภอเขมราฐ]] รวมระยะทาง 705 กิโลเมตร
 
อำเภอเขมราฐ มีทางหลวงแผ่นดิน 6 เส้นทาง ดังนี้
เส้น 189 ⟶ 192:
 
=== รถไฟ ===
อำเภอเขมราฐไม่มีเส้นทางรถไฟผ่าน และต้องลงที่อาศัยการเดินทางมายัง[[สถานีรถไฟอุบลราชธานี]] อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี แล้วต่อรถจากนั้นสามารถโดยสารรถประจำทางหรือรถตู้รถขนส่งร่วมบริการมายังอำเภอเขมราฐ ด้วยระยะทาง 110 กิโลเมตร
 
== อากาศยาน ==
เส้น 230 ⟶ 233:
* '''พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ (ล้าน)''' ที่ตั้ง วัดพระโต บ้านปากแซง หมู่ที่ 3 ต.พะลาน
* พระหยกไซมีเรีย ที่ตั้ง วัดโพธิ์ หมู่ที่ 7 ต.เขมราฐ
*ดอนสโงม ที่ตั้ง บ้านนาแวง หมู่ 2 ต.นาแวง
 
== เทศกาลและประเพณี ==
เส้น 237 ⟶ 240:
* ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา เทศบาลตำบลเขมราฐ เดือนกรกฎาคม
* ถนนคนเดินอำเภอเขมราฐ ทุกวันเย็นเสาร์
 
 
==ธนาคารในอำเภอ==