ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์ล มาคส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Laga888 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 8782517 สร้างโดย Laga888 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{รีไรต์}}
{{Infobox Philosopher || region = ปรัชญาตะวันตก |
เส้น 7 ⟶ 6:
| image_size = 200px
| name = '''คาร์ล มาคส์''' |
| birth = [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2361]]<br />[[เทรียร์]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] |
| death = {{วันตาย-อายุ|2426|3|14|2361|5|5}}<br />กรุง[[ลอนดอน]] [[สหราชอาณาจักร]]|
| school_tradition = [[ลัทธิมาคส์]], [[คอมมิวนิสต์]], [[เฮเกลเลียน]] |
เส้น 19 ⟶ 18:
{{คอมมิวนิสต์}}
{{เศรษฐศาสตร์สำนักมาคส์}}
'''คาร์ล ไฮน์ริช มาคส์''' ({{lang-de|Karl Heinrich Marx}}, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็น[[นักปรัชญา]] นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนัก[[สังคมนิยมปฏิวัติ]][[ชาวเยอรมัน]]
 
มาคส์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางใน[[เทรียร์]] เขาศึกษากฎหมายและ[[เกออร์ค วิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|ปรัชญาแบบเฮเกิล]] เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขา[[ความไร้สัญชาติ|ไร้สัญชาติ]]และอาศัยลี้ภัยในกรุง[[ลอนดอน]] ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ [[จุลสาร]]ปี 2391, ''[[แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์]]'' และ''[[ทุน (หนังสือ)|ทุน]]'' จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม
เส้น 49 ⟶ 48:
มาคส์เดินทางไปยัง[[ประเทศฝรั่งเศส]] ที่นั่นเอง เขาได้ขบคิดเรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเขากับบาวเออร์และกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ และได้เขียนบทความ ''ปัญหาชาวยิว'' ([[:en:On the Jewish Question|On the Jewish Question]]) ซึ่งเป็นบท[[วิพากษ์]]แนวคิดปัจจุบันเกี่ยวกับ[[สิทธิพลเมือง]]และ[[การปลดปล่อย]]ทางการเมือง ที่[[ปารีส]]เขาได้พบ [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] ผู้ซึ่งกลายเป็นผู้ร่วมงานกับมาคส์ไปตลอดชีวิตของเขา เองเงิลส์ได้กระตุ้นให้มาคส์สนใจสถานการณ์ของ[[ชนชั้นทำงาน]] และช่วยแนะนำให้มาคส์สนใจ[[เศรษฐศาสตร์]] เมื่อเขาและเองเงิลส์ถูกภัยการเมืองอีกครั้งอันเนื่องมาจากงานเขียน เขาย้ายไปยังเมือง[[ปรัสเซล]] <!-- บรัสเซล? --> [[ประเทศเบลเยียม]]
 
พวกเขาได้ร่วมกันเขียนบทความชื่อ ''[[อุดมการณ์เยอรมัน]]'' (''[[:en:The German Ideology|The German Ideology]]'') ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์ปรัชญาของเฮเกิลและกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ หลังจากนั้นมาคส์เขียน ''[[ความอับจนของปรัชญา]]'' (''[[:en:The Poverty of Philosophy|The Poverty of Philosophy]]'') ซึ่งวิพากษ์ความคิดสังคมนิยมสายฝรั่งเศส บทความทั้งสองวางรากฐานให้กับ ''[[คำประกาศเจตนาคอมมิวนิสต์]]'' (''The Communist Manifesto'') อันเป็นผลงานที่โด่งดังที่สุดของมาคส์และเองเงิลส์. หนังสือ ''คำประกาศเจตนา'' ซึ่ง[[สมาพันธ์คอมมิวนิสต์]]ซึ่งเป็นกลุ่มผู้อพยพชาวเยอรมันที่มาคส์ได้พบที่[[ลอนดอน]]ได้ร้องขอให้เขียน ได้รับการตีพิมพ์เมื่อวันที่ [[21 ก.พ.]] ค.ศ. 1848 ([[พ.ศ. 2391]])
 
ปีนั้นเอง ใน[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]]ได้เกิดการลุกฮือครั้งยิ่งใหญ่ กลุ่มคนงานได้เข้ายึดอำนาจจาก[[พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]] และได้เชิญมาคส์กลับปารีส ต่อมาหลังจากที่รัฐบาลคนงานล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1849 ([[พ.ศ. 2392]]) มาคส์ได้ย้ายกลับไปยังโคโลญ และได้เริ่มพิมพ์หนังสือพิมพ์ ''Rheinische Zeitung'' ขึ้นมาใหม่ก่อนจะถูกสั่งปิดลงอีกครั้ง สุดท้ายมาคส์จึงย้ายไปอยู่ที่ลอนดอน ขณะที่อยู่ที่ลอนดอนนั้น มาคส์ทำหน้าที่เป็นผู้สื่อข่าวฝั่งยุโรปให้กับหนังสือพิมพ์นิวยอร์กทรีบูน ([[:en:New York Tribune|New York Tribune]]) ระหว่างปี ค.ศ. 1852 ([[พ.ศ. 2395]]) ถึง 1861 ([[พ.ศ. 2404]]) ในปี ค.ศ. 1852 นั้นเอง มาคส์ได้เขียนแผ่นพับ ''[[การปฏิวัติของหลุยส์ โบนาปาร์ต]]'' (''[[:en:The Eighteenth Brumaire of Louis Bonaparte|The Eighteenth Brumaire of Louis Bonaparte]]'') เพื่อวิเคราะห์เหตุการณ์ที่[[หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต]] (หลานของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|นโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]) เข้ายึดอำนาจรัฐในฝรั่งเศสและสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดินโปเลียนที่ 3
 
=== สากลที่หนึ่ง และคำพูดของแกลดสตัน ===
เส้น 131 ⟶ 130:
มาคส์เองก็โดนวิพากษ์วิจารณ์จากทางฝ่ายซ้ายด้วยเช่นกัน นักสังคมนิยมแนววิวัฒนาการไม่เชื่อคำอ้างของมาคส์ว่า การสร้างรัฐสังคมนิยมจะต้องกระทำผ่านทางการปะทะระหว่างชนชั้น และการปฏิวัติอย่างรุนแรงเท่านั้น. บางกลุ่มก็กล่าวว่า ความไม่เท่าเทียมระหว่างชนชั้นนั้น ไม่ใช่ความไม่เท่าเทียมพื้นฐานของประวัติศาสตร์ และชี้ให้เห็นความปัญหาของ[[ลัทธิชายเป็นใหญ่]] และ[[การเหยียดชาติพันธุ์]] นอกจากนี้ยังมีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความถูกต้อง ทั้งในด้านทฤษฎีและด้านประวัติศาสตร์ ในการใช้ "ชนชั้น" เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ และมีการตั้งคำถามในทิศทางเดียวกันนี้ ถึงการที่มาคส์ถือความเชื่อของสมัยศตวรรษที่ 19 ที่เชื่อมวิทยาศาสตร์เข้ากับแนวคิดของ "ความก้าวหน้า" (ดู [[วิวัฒนาการเชิงสังคม]]) หลายคนเชื่อว่าระบบทุนนิยมเองได้เปลี่ยนแปลงไปมาก นับจากสมัยของมาคส์ และการแบ่งแยกชนชั้นก็มีรูปแบบที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยยกตัวอย่างจากการที่คนงานก็มีสิทธิถือครองหุ้นของบรรษัทขนาดใหญ่ได้ โดยผ่านทางกองทุน (ดู [[แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม]] และ [[แนวคิดหลังสมัยใหม่]] สำหรับการเคลื่อนไหวสองกลุ่มที่มักมีทิศทางสอดคล้องกับแนวคิดฝ่ายซ้าย ที่วิพากษ์มาคส์และ[[ลัทธิมาคส์]])
 
ยังมีกลุ่มที่วิจารณ์มาคส์โดยใช้ทัศนะจากการศึกษาด้านปรัชญาของวิทยาศาสตร์ ที่โดดเด่นก็คือ [[คาร์ล พอพเพอร์]] ผู้เป็นนักปรัชญา ได้วิพากษ์ทฤษฎีของมาคส์ว่า เป็นสิ่งที่ตรวจสอบว่าผิดไม่ได้ ซึ่งจะทำให้คำอ้างทางประวัติศาสตร์ รวมถึงด้านสังคมและการเมืองของมาคส์นั้น ไม่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์ สาเหตุหลักมาจากการทำนายของมาคส์ว่า ระบบทุนนิยมจะล่มสลายลงเนื่องจากการปฏิวัติของชนชั้น ผู้ที่ไม่เชื่อจะกล่าวว่า "สิ่งนี้จะไม่เกิดขึ้น" ในขณะที่เหล่ามาคส์สจะโต้ว่า "แต่มันจะต้องเกิด" ลักษณะเช่นนี้ทำให้ข้อพิสูจน์ต่าง ๆ ของแนวคิดมาคส์ที่วางอยู่บนหลักฐานเชิง[[ประจักษ์นิยม]]นั้น เป็นไปไม่ได้ ด้วยเหตุผลนี้ พอพเพอร์จึงอธิบายว่า ไม่ว่ามาคส์จะอ้างว่า ได้ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์ก็ตาม แต่ความจริงแล้ว ความคิดแนวมาคส์ไม่สามารถเป็นความคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้. [[กลุ่มต่อต้านคอมมิวนิสต์]]ในฝั่งตะวันตกมักกล่าวโทษมาคส์อย่างรุนแรง ซึ่งเป็นผลมาจากการมองมาคส์ผ่านทางการกระทำของรัฐคอมมิวนิสต์ และปัญหาการเมืองเมื่อสมัย[[สงครามเย็น]] [https://pornstarxd.com/ คลิปโป๊]
 
พรรคการเมืองมาคส์สต์รวมถึงการเคลื่อนไหวต่าง ๆ นั้น ลดความเข้มแข็งลง ภายหลังจาก[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]] นักวิจารณ์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฝ่ายขวา ได้ใช้เหตุการณ์นี้อธิบายว่า เกิดขึ้นมาจากความล้มเหลวภายในหลาย ๆ อย่างในสหภาพโซเวียต และการล่มสลายที่ตามมานี้ เป็นผลพวงโดยตรงจากแผนการของมาคส์ แสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวของแนวคิดมาคส์สม์. อย่างไรก็ตาม กลุ่มมาคส์สต์กล่าวว่า นโยบายของสหภาพโซเวียต ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบเลนินนิสต์และสตาลินนิสต์นั้น แม้จะดูผิวเผินแล้วคล้ายคลึงกับทฤษฎีของมาคส์ แต่ในเนื้อแท้แล้วแตกต่างกันมาก. มาคส์วิเคราะห์โลกในยุคสมัยของเขา และปฏิเสธที่จะเขียนแผนการว่าโลกสังคมนิยมจะต้องเป็นอย่างใด โดยเขากล่าวว่าเขามิได้ "เขียนตำราอาหาร สำหรับอนาคต". สำหรับภายนอกยุโรปและสหรัฐอเมริกาแล้ว การเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้าน[[ลัทธิจักรวรรดินิยม]] รวมถึงการกลุ่ม[[ชาตินิยม]] มักมีความสำคัญกว่าคอมมิวนิสต์. อย่างไรก็ตาม หลายครั้งกลุ่มเคลื่อนไหวนี้ ได้ใช้แนวคิดของมาคส์เป็นพื้นฐานทางทฤษฎี.
เส้น 153 ⟶ 152:
{{นักปรัชญาตะวันตก}}
 
{{birthlifetime|1818}}{{death|1883}}
 
[[หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:นักปรัชญา]]
[[หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:นักสังคมวิทยา]]
[[หมวดหมู่:นักปฏิวัติ]]