ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความรัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8789117 สร้างโดย 2403:6200:8841:C6B9:A1A4:CA1A:1145:1FC3 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 4:
'''ความรัก''' เป็นความรู้สึก สภาพและ[[เจตคติ]]ต่าง ๆ ซึ่งมีตั้งแต่ความชอบ ระหว่างบุคคลหมายถึง[[อารมณ์]][[การดึงดูดระหว่างบุคคล|การดึงดูด]]และ[[ความผูกพัน]] (attachment) ส่วนบุคคลอย่างแรงกล้า<ref name="oxford">''Oxford Illustrated American Dictionary'' (1998) + ''Merriam-Webster Collegiate Dictionary'' (2000) </ref> ในบริบททาง[[ปรัชญา]] ความรักเป็น[[คุณธรรม]]แสดงออกซึ่ง[[ความเมตตา]] [[ความเห็นอกเห็นใจ]] และความ[[เสน่หา]]ทั้งหมดของมนุษย์ ความรักเป็นแก่นของหลาย[[ศาสนา]] อย่างเช่นในวลี "พระเจ้าเป็นความรัก" ของ[[ศาสนาคริสต์]] หรือ[[อากาเป]]ใน[[พระวรสารในสารบบ]]<ref>[[Deus Caritas Est]], Roman Catholic encyclical by Pope Benedict XVI</ref> ความรักยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นพฤติกรรมต่อตนเองหรือผู้อื่นซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานความเห็นอกเห็นใจ หรือความเสน่หา<ref>Fromm, Eric; "The Art of Loving", Harper Perennial (1956), Original English Version, ISBN-10: 0060958286 ISBN-13: 978-0060958282</ref>
 
คำว่า "รัก" สามารถหมายความถึง ความรู้สึก สภาพทางอารมณ์และ[[เจตคติ]]ต่าง ๆ ซึ่งอาจมีตั้งแต่ความพอใจทั่วไปจนถึงความดึงดูดระหว่างบุคคลอย่างรุนแรง แต่โดยเจาะจงแล้ว ความรักสามารถหมายถึงความต้องการอย่างเสน่หาและความสัมพันธ์ทางเพศ ซึ่งเป็นความหมายของความรักแบบโรแมนติก ความรักที่มีเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นความหมายของอีรอส (คำภาษากรีกหมายถึงความรัก) ความใกล้ชิดทางอารมณ์ ซึ่งเป็นความหมายของความรักกับบุคคลในครอบครัว หรือ[[รักบริสุทธิ์]]ที่นิยามมิตรภาพ<ref name="PlatonicSchool">{{cite book |last=Kristeller |first=Paul Oskar |title=Renaissance Thought and the Arts: Collected Essays |publisher=Princeton University |year=1980 |isbn=0-691-02010-8}}</ref> หรือความรักแบบอุทิศตัวแบบในทางศาสนา<ref name="Gita">{{cite book |last= Mascaró |first=Juan |title=The Bhagavad Gita |publisher=Penguin Classics |year=2003 |isbn=0-140-44918-3}} (J. Mascaró, translator) </ref> ความหลากหลายของการใช้และความหมายของคำว่ารักนี้ ประกอบกับความรู้สึกอันซับซ้อนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้เป็นการยากที่จะนิยามความรักให้แน่นอน แม้จะเทียบกับสภาพอารมณ์อื่น ๆ แล้วก็ตาม รู้สึกได้เอาความฝันทั้ง 2 คนมารวมแล้วมีการเอากันนนนนนนน
 
[[วิทยาศาสตร์]]นิยามว่าสิ่งที่เข้าใจได้ว่าเป็นความรักนั้นเป็นสภาพที่มาจากวิวัฒนาการของสัญชาตญาณการเอาตัวรอด โดยพื้นฐานแล้วเพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกันเพื่อต่อต้านภัยคุกคามและเพื่อสนับสนุนความต่อเนื่องของสายพันธุ์ผ่าน[[การสืบพันธุ์]]<ref name="Fisher">Helen Fisher. ''Why we love: the nature and chemistry of romantic love''. 2004.</ref>
บรรทัด 131:
ในศาสนาพุทธ "กาม" เป็นความรักแบบหมกมุ่นในโลกีย์และเกี่ยวกับเพศ และเป็นอุปสรรคขัดขวางการตรัสรู้ เพราะเป็นความเห็นแก่ตัวอย่างหนึ่ง "กรุณา" เป็นความรู้สึกเห็นใจและปรานี ซึ่งลดความเจ็บปวดของผู้อื่น กรุณาเป็นองค์ประกอบของปัญญาและปัจจัยจำเป็นสำหรับการตรัสรู้ [[เมตตา]]เป็นความรักแบบกุศล ไม่มีเงื่อนไขผูกมัด แต่ต้องอาศัยการยอมรับตัวเองเป็นสำคัญ เมตตาค่อนข้างแตกต่างจากความรักทั่วไป ที่มักมีเรื่องความผูกพันและเรื่องเพศมาเกี่ยวข้อง และน้อยครั้งเกิดขึ้นโดยปราศจากประโยชน์ส่วนตน ดังนั้น ศานาพุทธจึงสอนให้มีอุเบกขาและห่วงใยในสวัสดิภาพของผู้อื่นอย่างไม่เห็นแก่ตัว
 
ในพุทธศาสนานิกายมหายาน [[พระโพธิสัตว์]]เป็นตัวแทนการสละตนโดยสมบูรณ์เพื่อไม่เป็นภาระให้กับโลกที่มีแต่ความทุกข์ สิ่งที่จะบันดาลใจให้เดินตามรอยพระโพธิสัตว์ได้นั้นคือการพ้นทุกข์ด้วยการไม่เห็นแก่ตัว และให้เห็นแก่ผู้อื่น โดยให้ความรักแก่ผู้อื่นอย่างรู้สึกได้

=== ศาสนาคริสต์ ===
คริสต์ศาสนิกชนเข้าใจว่าความรักมาจากพระเจ้า ความรักของชายและหญิง (ซึ่งในภาษากรีกเรียกว่า อีรอส) และความรักผู้อื่นอย่างไม่เห็นแก่ตัว (อากาเป) มักขัดแย้งกัน แต่ท้ายที่สุดแล้วเป็นสิ่งเดียวกัน<ref name="vatican1">{{cite web
| url=http://www.vatican.va/holy_father/benedict_xvi/encyclicals/documents/hf_ben-xvi_enc_20051225_deus-caritas-est_en.html