ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธาตุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แทนที่เนื้อหาด้วย "สำสำบำบำพยพวพพภบพบดข == สมบัติของธาตุในตารางธาตุ ==..."
ป้ายระบุ: ถูกแทน แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
สำสำบำบำพยพวพพภบพบดข
{{ความหมายอื่น|ดูที่=ธาตุ (แก้ความกำกวม)}}
 
ในทาง[[เคมี]] '''ธาตุ''' คือ [[สารบริสุทธิ์]]ซึ่งประกอบด้วย[[อนุภาคมูลฐาน]][[เลขอะตอม]] อันเป็นจำนวนของ[[โปรตอน]]ใน[[นิวเคลียส]]ของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น [[คาร์บอน]] [[ออกซิเจน]] [[อะลูมิเนียม]] [[เหล็ก]] [[ทองแดง]] [[ทองคำ]] [[ปรอท]]และ[[ตะกั่ว]]
 
จนถึงเดือนพฤษภายน พ.ศ. 2554 มีการบ่งชี้ธาตุแล้ว 118 ธาตุ ล่าสุดคือ [[ออกาเนสซอน]] ใน พ.ศ. 2545<ref name=Oganessian2002>{{cite journal|first=YT|last=Oganessian|title=Heaviest nuclei from 48Ca-induced reactions|journal=Journal of Physics G: Nuclear and Particle Physics|volume=34|issue=4|year=2007|pages=R165–R242|doi=10.1088/0954-3899/34/4/R01|url=http://www.icpress.co.uk/etextbook/p573/p573_chap01.pdf|accessdate=2011-05-07|bibcode=2007JPhG...34..165O}}</ref> ในบรรดาธาตุที่รู้จักกัน 118 ธาตุนั้น มีเพียง 94 ธาตุแรกเท่านั้นที่เชื่อกันว่าเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติบน[[โลก]] และมี 80 ธาตุที่เสถียรหรือโดยพื้นฐานแล้วเสถียร ขณะที่ที่เหลือเป็น[[การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี|ธาตุกัมมันตรังสี]] ซึ่งจะสลายตัวไปเป็นธาตุที่เบากว่าในระยะเวลาที่แตกต่างกันจากเสี้ยววินาทีไปจนถึงหลายพันล้านปี ธาตุใหม่ ๆ ซึ่งมีเลขอะตอมสูงกว่าที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สังเคราะห์ขึ้นจากผลิตภัณฑ์ของ[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]]
 
[[ไฮโดรเจน]]และ[[ฮีเลียม]]เป็นธาตุที่พบได้มากที่สุดใน[[เอกภพ]] อย่างไรก็ดี ออกซิเจนเป็นธาตุที่พบได้มากที่สุดใน[[เปลือกโลก]] ประกอบกันเป็นครึ่งหนึ่งของมวลทั้งหมด<ref name=LosAlamos>{{cite web|title=Periodic Table of Elements: Oxygen|author=Los Alamos National Laboratory|authorlink=Los Alamos National Laboratory|publisher=Los Alamos National Security, LLC|location=Los Alamos, New Mexico|year=2011|url=http://periodic.lanl.gov/8.shtml|accessdate=2011-05-07}}</ref> แม้สสารเคมีทั้งหมดที่ทราบกันจะประกอบด้วยธาตุอันหลากหลายเหล่านี้ แต่[[สสาร]]เคมีนั้นประกอบกันขึ้นเป็นเพียงราวร้อยละ 15 ของสสารทั้งหมดในเอกภพ ส่วนที่เหลือนั้นเป็น[[สสารมืด]] ซึ่งมิได้ประกอบด้วยธาตุเคมีที่มนุษย์รู้จัก เพราะไม่มีโปรตอน [[นิวตรอน]]หรือ[[อิเล็กตรอน]]
 
เชื่อกันว่าธาตุเคมีเกิดขึ้นจากกระบวนการของเอกภพหลายอย่าง รวมทั้งไฮโดรเจน ฮีเลียม และ[[ลิเทียม]] [[เบริลเลียม]]และ[[โบรอน]]ปริมาณน้อยกว่า เกิดขึ้นระหว่าง[[บิกแบง]]และปฏิกิริยาการแตกเป็นเสี่ยงของ[[รังสีคอสมิก]] (cosmic-ray spallation) การเกิดขึ้นของธาตุที่หนักขึ้นตั้งแต่คาร์บอนไปจนถึงธาตุที่หนักที่สุดนั้นเป็นผลจาก[[การสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์]] และ[[มหานวดารา]]ได้ทำให้ธาตุเหล่านี้มีสำหรับระบบสุริยะเนบิวลาและการก่อตัวของดาวเคราะห์ และเหตุการณ์ของเอกภพซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ซึ่งระเบิดธาตุที่สร้างขึ้นใหม่เหล่านี้จากดาวฤกษ์ออกสู่อวกาศ<ref>{{cite journal
| title= Synthesis of the Elements in Stars
| author= E. M. Burbidge, G. R. Burbidge, W. A. Fowler, F. Hoyle
| journal= Reviews of Modern Physics
| volume= 29
| issue= 4
| pages= 547–650
| year= 1957
| doi= 10.1103/RevModPhys.29.547
| bibcode=1957RvMP...29..547B}}</ref> ขณะที่ธาตุส่วนใหญ่มักถูกมองว่าเสถียร แต่[[การแปรนิวเคลียส]] (nuclear transformation) ตามธรรมชาติของธาตุหนึ่งเป็นอีกธาตุหนึ่งนั้นยังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน โดยการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เช่นเดียวกับกระบวนการนิวเคลียร์อื่น ๆ เช่น การยิงรังสีคอสมิกและ[[นิวเคลียร์ฟิชชัน]]ตามธรรมชาติของ[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ธาตุหนักหลายชนิด
 
เมื่อธาตุแตกต่างกันสองธาตุรวมตัวกันทางเคมี โดยมีอะตอมยึดเข้าด้วยกันด้วย[[พันธะเคมี]] ผลที่ได้เรียกว่า [[สารประกอบเคมี]] สองในสามของธาตุเคมีที่พบได้บนโลกพบเฉพาะในรูปของสารประกอบ และในหลายกรณี หนึ่งในสามที่เหลือนั้นก็มักพบเป็นสารประกอบเป็นส่วนใหญ่ สารประกอบเคมีอาจประกอบด้วยธาตุที่รวมเข้าด้วยกันในสัดส่วนจำนวนเต็มแน่นอน ดังเช่น [[น้ำ]] [[เกลือแกง]] และแร่ อย่าง[[ควอตซ์]] [[แคลไซต์]] และ[[แร่โลหะ]]บางชนิด อย่างไรก็ดี พันธะเคมีของธาตุหลายประเภทส่งผลให้เกิดเป็น[[ของแข็ง]][[ผลึก]]และ[[อัลลอย]][[โลหะ]] ซึ่งไม่มี[[สูตรเคมี]]แน่นอน สสารของแข็งส่วนใหญ่บนโลกเป็นประเภทหลังนี้ คือ อะตอมก่อเป็นสสารของเปลือกโลก [[แมนเทิล]] และแก่นโลกชั้นในก่อสารประกอบเคมีที่มีองค์ประกอบหลากหลาย แต่ไม่มี[[สูตรเอมพิริคัล]]แน่ชัด
 
ในการนำเสนอเหล่านี้ทั้งหมด คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของธาตุบริสุทธิ์แต่ละธาตุนั้นไม่ชัดเจน ซึ่งเป็นเช่นนั้นแม้ธาตุที่เกิดในรูปไม่ผสม หากธาตุเหล่านี้เกิดเป็นสารผสม ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ขณะที่ธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทั้งหมด 94 ธาตุ จะได้รับการบ่งชี้ในตัวอย่างแร่จากเปลือกโลก มีเพียงธาตุส่วนน้อยพบเป็นแร่ค่อนข้างบริสุทธิ์ที่สามารถรู้ได้ ส่วน "[[ธาตุธรรมชาติ]]" ที่หาพบได้ง่ายกว่า เช่น ทองแดง [[เงิน (โลหะ)|เงิน]] ทองคำ คาร์บอน (ในรูป[[ถ่านหิน]] [[แกรไฟต์]] หรือ[[เพชร]]) [[กำมะถัน]]และปรอท ธาตุเฉื่อยแทบทั้งหมด เช่น [[แก๊สเฉื่อย]]และโลหะมีตระกูล มักพบบนโลกในรูปผสมทางเคมี เป็น สารประกอบเคมี ขณะที่ธาตุเคมีราว 32 ธาตุ พบบนโลกในรูปไม่ผสมตามธรรมชาติ แต่ธาตุเหล่านี้หลายชนิดเกิดเป็นสารผสม ตัวอย่างเช่น อากาศชั้นบรรยากาศส่วนใหญ่เป็นสารผสม[[ไนโตรเจน]] ออกซิเจนและ[[อาร์กอน]] ธาตุของแข็งตามธรรมชาติยังมักเกิดเป็นสารผสมหลายชนิด เช่น อัลลอยของเหล็กและ[[นิกเกิล]]
 
ประวัติศาสตร์การค้นพบและการใช้ธาตุเคมีเริ่มขึ้นด้วยสังคมมนุษย์ยุคแรกเริ่มที่พบธาตุธรรมชาติอย่างทองแดงหรือทองคำ และสกัด (หลอม) เหล็กและโลหะอื่นบางชนิดจากแร่โลหะนั้น [[นักเล่นแร่แปรธาตุ]]และ[[นักเคมี]]ภายหลังบ่งชี้ธาตุเพิ่มขึ้นอีกมาก ซึ่งธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเกือบทั้งหมดเป็นที่ทราบกันใน ค.ศ. 1900 คุณสมบัติของธาตุเคมีมักสรุปโดยใช้[[ตารางธาตุ]] ซึ่งจัดธาตุเรียงตามเลขอะตอม แบ่งเป็นแถว ([[คาบในตารางธาตุ|"คาบ"]]) ซึ่งธาตุที่อยู่ในคอลัมน์ ([[หมู่ในตารางธาตุ|"หมู่"]]) เดียวกันจะมีคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีเกิดเวียนซ้ำ เกือบทุกธาตุมีประโยชน์ใช้งานสำคัญต่อมนุษย์อย่างน้อยหนึ่งอย่าง ซึ่งอาจอยู่ในรูปบริสุทธิ์หรืออยู่ในสารประกอบเคมีหรือสารผสมหลายชนิด ยกเว้นธาตุกัมมันตรังสีที่มี[[ครึ่งชีวิต]]สั้น ธาตุทั้งหมดหลัง[[ยูเรเนียม]] และรวมไปถึง[[อะเมริเซียม]] ปัจจุบันมีผลิตเป็นอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนใหญ่มีความบริสุทธิ์สูง
 
ประมาณยี่สิบสี่ธาตุมีความสำคัญต่อสิ่งมี[[ชีวิต]]หลายชนิด ธาตุหายากส่วนใหญ่บนโลกไม่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต (ยกเว้น [[เซเลเนียม]]หรือ[[ไอโอดีน]]) ขณะที่ธาตุส่วนน้อยที่พบได้ค่อนข้างทั่วไป (อะลูมิเนียมและ[[ไทเทเนียม]]) ไม่จำเป็น สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่มีความต้องการธาตุร่วมกัน แต่มีความแตกต่างเล็กน้อยระหว่าง[[พืช]]และ[[สัตว์]] ตัวอย่างเช่น สาหร่ายมหาสมุทรใช้[[โบรมีน]] แต่พืชบกและสัตว์ดูเหมือนไม่ต้องการเลย สัตว์ทุกชนิดต้องการ[[โซเดียม]] แต่พืชบางชนิดไม่ต้องการ พืชต้องการโบรอนและ[[ซิลิกอน]] แต่สัตว์ไม่ต้องการหรืออาจต้องการในปริมาณเล็กน้อยมาก) มีเพียงหกธาตุ ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน [[แคลเซียม]] และ[[ฟอสฟอรัส]] ประกอบกันขึ้นเป็นเกือบ 99% ของมวลร่างกายมนุษย์ นอกเหนือไปจากหกธาตุหลักซึ่งประกอบเป็นร่างกายมนุษย์ส่วนใหญ่นั้น มนุษย์ยังต้องการบริโภคธาตุอีกอย่างน้อยสิบสองธาตุ
 
[[ไฟล์:Periodic table.svg|600px|thumb|center|<center>[[ตารางธาตุ]]</center>]]
 
== สมบัติของธาตุในตารางธาตุ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธาตุ"