ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝอยทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| other =
}}
'''ฝอยทอง''' ({{lang-pt|fios de ovos}}, ''เฟียช ดือ โอวุชฟียุชดึโอวุช'', "เส้นด้ายที่ทำจากไข่")<ref>[http://web.archive.org/20070614234227/beebah.wordpress.com/2007/05/02/cycling-ayutthaya/ ปั่นจักรยานอยุธยา..เสียค่าโง่ที่งานวัด]</ref> เป็น[[ขนม]][[โปรตุเกส]] ลักษณะเป็นเส้นฝอยสีทอง ทำจาก[[ไข่แดง]]ของไข่เป็ด เคี่ยวในน้ำเดือดและ[[น้ำตาลทราย]] ชาวโปรตุเกสใช้รับประทานกับ[[ขนมปัง]] กับอาหารมื้อหลักจำพวกเนื้อสัตว์ และใช้รับประทานกับ[[ขนมเค้ก]]<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=[[วรรณกับหมู]]
|ชื่อหนังสือ=ปั่นข้ามฝัน... 2,000 วันรอบโลก, เล่ม 3 : ยุโรปโรแมนติก
บรรทัด 25:
|จำนวนหน้า=296
}}
, [http://www.thaibikeworld.com/etc/chapter002/index_th.htm ตอน ตามหาฝอยทองที่โปรตุเกส]</ref> โดยมีกำเนิดจากเมืองอเวรูเมืองอาไวรู (Aveiro) เมืองชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตุเกส
 
ฝอยทองเป็นที่รู้จักในประเทศสเปนว่า '''อเวโบ อูเอโบอิลาโด''' ({{lang-es|huevo hilado}} "ไข่ที่ปั่นเป็นเส้นด้าย"), ในประเทศญี่ปุ่นว่า '''เครัง โซเม็ง''' ({{ญี่ปุ่น|鶏卵素麺}} "เส้นไข่ไก่")<ref name="Kyoto foodie">''Kyoto Foodie'', ''[http://kyotofoodie.com/wagashi-angel-hair-keiran-somen-fios-de-ovos/ Wagashi: Angel Hair Keiran Somen (Fios de Ovos)]''. Accessed on July 7, 2009.</ref>, ในประเทศกัมพูชาว่า '''วาวี'''<ref>{{cite book|title=The Elephant Walk Cookbook: Cambodian Cuisine from the Nationally Acclaimed Restaurant|author=Longteine De Monteiro|year=1998|publisher=Houghton Mifflin}}</ref> ในประเทศมาเลเซียว่า '''จยาลา มาสจาลามัซ''' ({{lang-ms|jala mas}} "ตาข่ายทอง")<ref name=jala>''It's sweet by any name'', ''[http://www.nst.com.my/opinion/columnist/it-s-sweet-by-any-name-1.111824]''. Accessed on May 05, 2014</ref> และในมาลาบาร์เหนือ [[รัฐเกรละ|รัฐเคราล่า]] [[ประเทศอินเดีย]]ว่า '''มุตตามาลา''' ([[ภาษามลยาฬัม|มลยาฬัม]]: മുട്ടമാല "ฝอยไข่")
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 33:
[[ไฟล์:Fios de ovos.jpg|thumb|''ฝอยทอง'' ที่ซื้อจากร้านขายขนมใน[[ประเทศบราซิล]]]]
=== ประเทศไทย ===
ฝอยทองแพร่เข้ามาในประเทศไทย พร้อมกับ[[ทองหยิบ]]และ[[ทองหยอด]] ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ในรัชกาล[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] โดยมาเรียรีอา กูโยมาร์ ดือเด ปิงญ่าปิญญา ([[ท้าวทองกีบม้า]], พ.ศ. 2202-2265) ลูกครึ่งโปรตุเกส-ญี่ปุ่น ภรรยาของ[[เจ้าพระยาวิชาเยนทร์]] (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ท้าวทองกีบม้ามีหน้าที่เป็นหัวหน้าห้องเครื่องต้น เป็นผู้ทำอาหารเลี้ยงต้อนรับคณะราชทูตจาก[[ฝรั่งเศส]]ที่มาเยือนกรุงศรีอยุธยาในสมัยนั้น
 
ทั้งนี้ฝอยทอง ปรากฏอยู่ใน ''กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน'' บทพระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ที่พระราชนิพนธ์ชมเชยฝีพระหัตถ์ในการแต่งเครื่องเสวยของ[[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]] ความว่า<ref>{{cite web |url=http://www.lib.ru.ac.th/journal/kanom.html|title=ขนมไทย|author=|date=|work= |publisher=สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง|accessdate=15 กรกฎาคม 2557}}</ref>
บรรทัด 42:
 
=== ประเทศญี่ปุ่น ===
เครัง โซเม็งเข้ามาในประเทศญี่ปุ่นใน[[ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ]] ({{ญี่ปุ่น|安土桃山時代}}) ช่วงปี ค.ศ. 1568 – ค.ศ. 1600 (พ.ศ. 2111-2143) ที่[[จังหวัดนางาซากิ]] โดยพ่อค้าชาวโปรตุเกส{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} หลังจากนั้นจึงแพร่หลายไปยัง[[จังหวัดฟุกุโอกะ|จังหวัดฟูกุโอกะ]] และเริ่มทำเพื่อจำหน่ายตามร้านขนมต่าง ๆ ใน[[ยุคเมจิ]] ({{ญี่ปุ่น|明治時代 ''Meiji-jidai เมจิจิได''}}) เมื่อ 342 ปีก่อน ร้านมัตสึยะรีมง ('''Matsuyariemon)''' ที่[[จังหวัดฟุกุโอกะ]] ได้ทำเครัง โซเม็งขึ้นซึ่งเป็นขนมหวานที่เป็นเอกลักษณ์ประจำของร้าน โดยปัจจุบันนั้นได้ดำเนินงานโดยรุ่นที่ 13{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฝอยทอง"