ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{เพิ่มอ้างอิง}} {{Infobox military unit | unit_name = กรมปฏิบัติการพิเศษ<br>หน่วยบัญชา...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:40, 6 เมษายน 2563

กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (อังกฤษ: Royal Thai Air Force Special Operations Regiment) หรือ คอมมานโด กองทัพอากาศไทย (อังกฤษ: Air Force Commando) เป็นหน่วยในฝูงบินปฏิบัติการรบพิเศษของหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน ซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ปลาย พ.ศ. 2519 โดยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพอากาศไทย[2] ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง และเตรียมความสามารถในการต่อต้านการจี้เครื่องบิน[3][4]

กรมปฏิบัติการพิเศษ
หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
กรมปฏิบัติการพิเศษ
หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
เครื่องหมายหน่วย
ประจำการพ.ศ. 2519–ปัจจุบัน
ประเทศประเทศไทย
ขึ้นต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแห่งประเทศไทย
เหล่า กองทัพอากาศไทย
รูปแบบกองกำลังปฏิบัติการพิเศษกองทัพอากาศ
คอมมานโดทหารราบและกองกำลังพิเศษกองทัพอากาศ
บทบาทการปฏิบัติการพิเศษ
ทหารราบเบา
การรวบรวมข่าวกรอง
ภารกิจลาดตระเวน
การปฏิบัติภารกิจโดยตรง
การรับกลับกำลังพล
ผู้ควบคุมอากาศยานหน้า
การค้นหาและกู้ภัยในพื้นที่การรบ
การสงครามนอกแบบ
การต่อต้านการก่อการร้าย
เวชศาสตร์ในสนามรบ
การยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ
กองกำลังส่งกำลังทางอากาศ
ขึ้นกับหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
กองบัญชาการฐานทัพอากาศดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
สมญาคอมมานโด[1]
ปฏิบัติการสำคัญสงครามเย็น

การจี้เครื่องบินการูดาอินโดนีเซีย เที่ยวบินที่ จีเอ 206 (ปฏิบัติการวอยลา) ค.ศ. 1981
ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้

ปฏิบัติการโปเชนตง
เว็บไซต์http://www2.sor.rtaf.mi.th/index.php/page-main (ไทย)

องค์กร

 
ทีมกรมปฏิบัติการพิเศษที่ท่าอากาศยานกองบิน 1 นครราชสีมา ปี พ.ศ. 2545

กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน กองทัพอากาศไทย

  • ศูนย์บัญชาการกองทัพอากาศไทย
    • กองพันปฏิบัติการพิเศษ 1 (คอมมานโด) กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
    • กองพันปฏิบัติการพิเศษ 2 (คอมมานโด) กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
    • กองพันปฏิบัติการพิเศษ 3 (คอมมานโด) กรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน
  • กองร้อยสนับสนุนการส่งทางอากาศ
  • ศูนย์การค้นหาและกู้ภัยในพื้นที่การรบ (พลร่มกู้ภัย) กองทัพอากาศไทย (CSAR)

ยานพาหนะภาคพื้นดิน

แบบ ที่มา ชนิด จำนวน หมายเหตุ
คาดิลแลคเกจคอมมานโด สหรัฐ รถเกราะ 12 คัน ร่วมกับปืนกลขนาด 12.7 มม. และ 7.62 มม.
ค็อนดอร์ ประเทศเยอรมนี รถเกราะ 18 คัน ร่วมกับปืนกลขนาด 20 มม. และ 7.62 มม.

อ้างอิง