ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 50:
* พ.ศ. 2444 จัดให้มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียนประเภทอายุไม่เกิน 20 ปีเป็นครั้งแรกที่สนามหลวง โรงเรียนชนะเลิศจะได้รับโล่ไว้ครอบครองเป็นเวลาหนึ่งปี และการจารึกชื่อบนโล่เป็นเกียรติประวัติ เรียกว่า "การแข่งขันฟุตบอลชิงโล่ของกระทรวงธรรมการ"
* พ.ศ. 2445 เดินทางไปดูงานการศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีผู้ร่วมเดินทางในครั้งนั้นคือ ขุนอนุกิจวิทูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) และพระชำนิบรรณาคม (อ่อน สาริบุตร) โดยใช้เวลาดูงาน 72 วัน และในโอกาสนี้ ได้คอยเฝ้ารับเสด็จนิวัติประเทศสยามของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษแล้ว
 
* 21 กันยายน พ.ศ. 2446 ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น "พระไพศาลศิลปศาสตร์" ถือศักดินา ๘๐๐<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/027/446.PDF พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง] </ref>
* 6 มกราคม พ.ศ. 2452 ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาไพศาลศิลปศาสตร์” ถือศักดินา ๑๐๐๐<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/2310.PDF พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง (หน้า ๒๓๑๒)] </ref>
* พ.ศ. 2453 ร. 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม (ร.ศ. 129) เพื่อรับกระแสพระราชดำริเรื่องการวางแนวทางการจัดการศึกษาของชาติโดยมีพระราชดำริว่า
 
เส้น 72 ⟶ 71:
 
[[ไฟล์:ภาพล้อฝีพระหัตถ์-เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี.jpg|thumb|200px|ภาพล้อเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6]]
 
* พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก "พระยาธรรมศักดิ์มนตรีสรรพศึกษาวิธียุโรปการ" ขึ้นเป็น "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี"<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/511.PDF ประกาศตั้งเจ้าพระยา], 3 มกราคม 2460, หน้า 511-7</ref> วันที่ 31 ธันวาคม เมื่ออายุได้เพียง 41 ปี
 
* พ.ศ. 2464 รับพระบรมราชโองการทำจดหมายถึง[[มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์]] ให้มาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมูลนิธิฯ ส่งนายแพทย์ ริชาร์ด เอม เพียร์ส ประธานกรรมการฝ่ายแพทยศาสตร์ศึกษาเข้ามาดูกิจการของการศึกษาแพทย์ในประเทศสยามและได้กราบทูลเชิญ[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก|สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์]] ทรงรับเป็นผู้แทนฝ่ายไทย
เส้น 141 ⟶ 140:
 
== บรรดาศักดิ์ ==
* 21 กันยายน พ.ศ. 2446 ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น "''พระไพศาลศิลปศาสตร์"'' ถือศักดินา ๘๐๐<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/027/446.PDF พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง] </ref>
* หลวงไพศาลศิลปศาสตร
* 6 มกราคม พ.ศ. 2452 ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ''พระยาไพศาลศิลปศาสตร์”ศิลปศาสตร'' ถือศักดินา ๑๐๐๐<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/2310.PDF พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง (หน้า ๒๓๑๒)] </ref>
* พระไพศาลศิลปศาสตร
* พระยาไพศาลศิลปศาสตร
* 4 มิถุนายน พ.ศ. 2454 ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ''พระยาธรรมศักดิ์มนตรี สรรพศึกษาวิธียุโรปการ''
* 31 ธันวาคม พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก "พระยาธรรมศักดิ์มนตรีสรรพศึกษาวิธียุโรปการ" ขึ้นเป็น "''เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี"'' <ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/511.PDF ประกาศตั้งเจ้าพระยา], 3 มกราคม 2460, หน้า 511-7</ref> วันที่ 31 ธันวาคม เมื่ออายุได้เพียง 41 ปี
* เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==