ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศุลกสถาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = ศุลกสถาน <br> สถานีดับเพลิงบางรัก
เส้น 9 ⟶ 8:
| เมืองที่ตั้ง = ซอยเจริญกรุง 36 (โรงภาษี) ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{ธง|ไทย}} [[ไทย|ประเทศไทย]]
| ปีสร้าง = พ.ศ. 2429 - 2429–2431<ref name="naming"></ref>
| ผู้สร้าง =
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ = พ.ศ. 2562 - 2562–2568
| ผู้บูรณะ = [[กรมธนารักษ์]]<br/>บริษัท ยู ซิตี้ จำกัด (มหาชน)<br>บริษัท อามัน รีสอร์ท เซอร์วิสเซส จำกัด<br>บริษัท ซิลเวอร์ลิงก์ รีสอร์ทส์ จำกัด
| แบบสถาปัตยกรรม = ผสมผสานระหว่าง[[ลัทธิคลาสสิกใหม่|นีโอคลาสสิก]]กับ[[สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ|ปัลลาดีโอ]]
เส้น 31 ⟶ 30:
[[ไฟล์:Old Customs House, Bang Rak (I).jpg|300px|thumb|right|ศุลกสถาน มุมมองจากฝั่งตรงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเป็นที่ตั้งของตำรวจน้ำ ก็ได้มีการต่อเติมที่จอดเรือ บริเวณด้านหน้าอาคาร]]
 
'''ศุลกสถาน''' (โรงภาษีร้อยชักสาม หรือโรงภาษีเก่า ชาวแต้จิ๋วเรียกว่า ฟ้าซีกวน หรือแป๊ะลั่นซา ซึ่งมีความหมายเดียวกัน)<ref>Bloggang.com สายหมอกและก้อนเมฆ. ศุลกสถาน. 24 ตุลาคม 2555. https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=morkmek&month=24-10-2012&group=11&gblog=71 </ref>) เป็นอดีตอาคารที่ทำการของศุลกสถาน ([[กรมศุลกากร]]ในปัจจุบัน) ตั้งอยู่บนพื้นที่ประมาณ 4 ไร่ ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ซอยเจริญกรุง 36 (โรงภาษี) ของ[[เขตบางรัก]] ติดกับสถานทูตฝรั่งเศส สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2429 ถึง พ.ศ. 2431 ซึ่งอยู่ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยตามคำกราบบังคมทูลของ[[พระยาภาสกรวงษ์ (พร บุนนาค)]] อธิบดีกรมศุลกากรคนแรก เป็นผู้กราบบังโคมทูลขอ เป็นอาคารสูง 3 ชั้น มีมุขกลางสูง 4 ชั้น ศิลปะโรมันคลาสสิค เป็นสถาปัตยกรรมทรง[[ลัทธิคลาสสิกใหม่|นีโอคลาสสิก]] และสมมาตรตามวิถีของ[[สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ|ปัลลาดีโอ]] ([[:en:Palladian|Neo-Palladian]]) เป็นอาคาร 3 หลังเชื่อมต่อกันเป็นรูปตัว[[I|ไอ]] <ref name=นา/> ซึ่งได้รับการออกแบบและก่อสร้างโดย [[โยอาคิม กรัสซี]] ([[:en:Joachim Grassi|Joachim Grassi]] or /Gioachino Grassi) [[สถาปนิก]][[ชาวอิตาลี]] สัญชาติออสเตรียน/ฝรั่งเศส เป็นผู้ออกแบบและก่อสร้าง สถาปนิกผู้นี้ที่มีชื่อเสียงและมีผลงานมากมายในขณะนั้น (เช่น คองคอร์เดียคลับ, พระราชวังบางปะอิน, วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร, เรือนรับรองสถานทูตโปรตุเกส, วังบูรพาภิรมย์, วังใหม่ประทุมวัน, โรงทหารหน้า, ป้อมพระจุลจอมเกล้าฯ, อาคารเก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ, ตึกวิคตอเรียและตึกเสาวภาคที่ศิริราชพยาบาล, ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้, คุกมหัตโทษ<ref>"สถาปัตยกรรมของโยอาคิม กราซีในสยาม" วิทยานิพนธ์ของ นส.พิริยา พิทยาวัฒนชัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. พศ. 2554</ref>) ภายหลังสร้างเสร็จ ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในอาคารที่ทันสมัยที่สุดในสมัยนั้น<ref>[http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1382339781 "ศุลกสถาน" สตูดิโอมีชีวิต มรดกยุโรปในเมืองไทย], ประชาชาติธุรกิจ. วันที่ 21 ต.ค. 2556</ref>
 
ศุลกสถาน เดิมเป็นเรือนไม้สองชั้น เป็นที่อยู่ของฝรั่งชาวโปรตุเกส ชื่อนายเจ.เอน.เอฟ.ดาคอสตา รับราชการอยู่กรมศุลกากร มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงราชายสาธก (เป็นชื่อบรรดาศักดิ์ของกรมศุลกากร คู่กับขุนเสวกวรายุตถ์ ผู้เป็นน้องชาย) เมื่อหลวงราชายสาธกถึงแก่กรรมแล้ว ภรรยาแหม่มของหลวงราชายสาธก จึงอยู่ในที่นั้นต่อมา ภายหลัง ร้องทุกข์ขอเบี้ยบำนาญเลี้ยงชีพ โดยตกลงยกสิทธิ์ที่อยู่ให้แก่รัฐบาลเป็นการแลกเปลี่ยนกัน กรมศุลกากรจึงรื้อเรือนไม้สร้างเป็นตึกขึ้น เพื่อเป็นที่ทำการศุลกากร เนื่องจากตัวที่ทำการศุลกากร (Customs House) หรือโรงภาษีแต่เดิมนั้นไม่มี มีแต่เพียงด่านขนอนที่ตั้งเก็บอากรการผ่านเขต<ref>ศุลกสถาน :โรงภาษีร้อยชักสาม ภาค 2 by Ploypapat. 25 มิถุนายน พ.ศ. 2553. http://ploypapat.blogspot.com/2010/06/2_25.html</ref>