ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาราชการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ภาษาทางการ''' หรือ '''ภาษาราชการ''' คือ[[ภาษา]]ที่มีการกำหนดให้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารภายใน[[ประเทศ]]และเขตแดนที่ติดต่อกับประเทศนั้น บางครั้งภาษาท้องถิ่นถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภาษาทางการเพราะมีการใช้การติดต่อกับทางส่วนการปกครองของท้องที่นั้น
 
ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่มีภาษาทางการ 1 ภาษา บางประเทศมีภาษาทางการ 2 ภาษาขึ้นไป เช่น [[ประเทศเบลเยียม|เบลเยียม]] [[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]] [[ประเทศฟินแลนด์|ฟินแลนด์]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์]] ฯลฯ ขณะเดียวกันบางประเทศไม่มีภาษาทางการ เช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศสวีเดน|สวีเดน]] ฯลฯ
บรรทัด 11:
ในบางประเทศมีการโต้เถียงอย่างรุนแรง ในประเด็นที่ว่าควรใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการของประเทศ
 
สำหรับ[[ประเทศไทย]]นั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษากลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่น ๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่าง ๆ โดยปรากฏแนวการพัฒนาเป็นภาษากลางตั้งแต่สมัย[[รัชกาลที่ 5]]
 
== อ้างอิง ==