ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานลูเดินดอร์ฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ลูเดนดอฟฟ์" → "ลูเดินดอร์ฟ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox bridge
| bridge_name = สะพานลูเดนดอฟฟ์ลูเดินดอร์ฟ
| native_name = Ludendorff-Brücke
| image = Remagen Bridge side view.jpg
| caption = สะพานเมื่อมองจากฝั่งแม่น้ำไรน์ก่อนถล่มในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1945
| official_name = สะพานลูเดนดอฟฟ์ลูเดินดอร์ฟ
| other_name = สะพานที่เรมาเกิน
| carries = [[ทางราง]]
บรรทัด 33:
| coordinates = {{Coord|50.579167|7.244167|type:landmark_region:DE}}
}}
'''สะพานลูเดนดอฟฟ์''' ({{lang-de|Ludendorff-Brücke}} บ้างเรียก'''สะพานที่เรมาเกิน''') ในต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1945 เป็นสะพานข้าม[[แม่น้ำไรน์]]ใน[[ประเทศเยอรมนี]]หนึ่งในสองแห่งที่ยังเหลืออยู่เมื่อถูกกำลังกองทัพบกสหรัฐยึดระหว่างยุทธการที่เรมาเกินในช่วงปลาย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] สะพานลูเดนดอฟฟ์สร้างใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]เพื่อช่วยส่งกำลังเพิ่มเติมและการส่งกำลังให้ทหารเยอรมันใน[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันตก]] ซึ่งเชื่อมเรมาเกินบนฝั่งตะวันตกและหมู่บ้านแอร์เพิลบนฝั่งตะวันออกระหว่างสองเขาที่ขนาบแม่น้ำ
 
'''สะพานลูเดนดอฟฟ์ลูเดินดอร์ฟ''' ({{lang-de|Ludendorff-Brücke}} บ้างเรียก'''สะพานที่เรมาเกิน''') ในต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1945 เป็นสะพานข้าม[[แม่น้ำไรน์]]ใน[[ประเทศเยอรมนี]]หนึ่งในสองแห่งที่ยังเหลืออยู่เมื่อถูกกำลังกองทัพบกสหรัฐยึดระหว่างยุทธการที่เรมาเกินในช่วงปลาย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] สะพานลูเดนดอฟฟ์สร้างในลูเดินดอร์ฟสร้างใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]เพื่อช่วยส่งกำลังเพิ่มเติมและการส่งกำลังให้ทหารเยอรมันใน[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)|แนวรบด้านตะวันตก]] ซึ่งเชื่อมเรมาเกินบนฝั่งตะวันตกและหมู่บ้านแอร์เพิลบนฝั่งตะวันออกระหว่างสองเขาที่ขนาบแม่น้ำ ถูกตั้งชื่อตามพลเอก[[เอริช ลูเดินดอร์ฟ]]
เมื่อสิ้นสุด[[ปฏิบัติการช่างตัดไม้]] (1–7 มีนาคม ค.ศ. 1945) ทหารกองทัพที่ 1 แห่งอเมริกามาถึงเรมาเกินและประหลาดใจที่พบว่าสะพานยังอยู่ การยึดสะพานนี้ทำให้กองทัพบกสหรัฐสถาปนาหัวสะพานบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำไรน์ หลังกำลังสหรัฐยึดสะพาน เยอรมนีพยายามทำลายอยู่หลายครั้งจนถล่มในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1945 สิบวันหลังถูกยึด ฆ่าทหารช่างสหรัฐ 28 นาย ระหว่างที่สะพานยังอยู่ สะพานทำให้กองทัพบกสหรัฐวางกำลังทหาร 25,000 นาย หกกองพลทหารบกกับรถถัง ปืนใหญ่และรถบรรทุกจำนวนมากข้ามแม่น้ำไรน์ สะพานนี้ไม่เคยถูกสร้างใหม่ หอคอยบนฝั่งตะวันตกถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์และหอคอยบนฝั่งตะวันออกเป็นที่แสดง
 
เมื่อสิ้นสุด[[ปฏิบัติการช่างตัดไม้]] (1–7 มีนาคม ค.ศ. 1945) ทหารกองทัพที่ 1 แห่งอเมริกาสหรัฐมาถึงเรมาเกินและประหลาดใจที่พบว่าสะพานยังอยู่ การยึดสะพานนี้ทำให้กองทัพบกสหรัฐสถาปนาหัวสะพานบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำไรน์ หลังกำลังสหรัฐยึดสะพาน เยอรมนีพยายามทำลายอยู่หลายครั้งจนถล่มในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1945 สิบวันหลังถูกยึด ฆ่าทหารช่างสหรัฐ 28 นาย ระหว่างที่สะพานยังอยู่ สะพานทำให้กองทัพบกสหรัฐวางกำลังทหาร 25,000 นาย หกกองพลทหารบกกับรถถัง ปืนใหญ่และรถบรรทุกจำนวนมากข้ามแม่น้ำไรน์ สะพานนี้ไม่เคยถูกสร้างใหม่ หอคอยบนฝั่งตะวันตกถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์และหอคอยบนฝั่งตะวันออกเป็นที่แสดง
 
[[หมวดหมู่:สะพานข้ามแม่น้ำไรน์]]